งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce Law)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce Law)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce Law)
Apirada Thadadech E-Law.ppt

2 ปัญหาในการประกอบกิจการ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ปัญหาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศยังมีไม่เพียงพอ ปัญหาในด้านความปลอดภัย (Security) ปัญหาในการคุ้มครองทรัพย์สินทางปํญญา (Intellectual Property) ปัญหาโครงสร้างพื้นฐานทางกฏหมาย

3 กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
1. กฎหมายแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Data Interchange Law- EDI) 2. กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Signatures Law) 3. กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Funds Transfer Law) 4. กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ( Data Protection Law) 5. กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ( Computer Crime Law)

4 กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
1. กฎหมายแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Data Interchange Law- EDI) เพื่อรับรองสถานะ ทางกฎหมาย ของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอด้วยกระดาษ อันเป็นการรองรับนิติสัมพันธ์ต่างๆโดยเฉพาะในวงการค้าการ ขนส่งระหว่างประเทศทำให้สามารถทำธุรกิจได้อย่างไม่มีข้อจำกัดทั้งด้านเวลา และสถานที่ โดยการใช้มาตรฐานที่ยอมรับโดยทั่วไปในรูปแบบ(format) และโครงสร้างข้อมูลที่ส่งถึงกัน

5 ประโยชน์ของกฎหมายแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
ประโยชน์กำลังคน และ เวลา ลดความผิดพลาด เพิ่มประสิทธิภาพในธุรกรรม ขยายโอกาสทางธุรกิจ

6 ปัญหากฎหมายแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
ความสมบูรณ์ของเนื้อหาทางกฎหมาย ลายเซ็น ลายลักษณ์อักษร รวมถึงข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือไม่ เอกสารต้นฉบับ พยานหลักฐาน การเกิดขึ้นของสัญญา ที่ไหน เมื่อไร

7 สาระสำคัญของกฏหมาย ตามกฎหมายต้นฉบับของคณะกรรมการว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศแห่ง สหประชาชาติดังนี้ หมวดที่1 บททั่วไป ขอบเขต คำนิยาม การตีความ และการกำหนดโดย ข้อตกลง หมวดที่2 ข้อกำหนดทางกฎหมายต่อรูปแบบของข้อมูล การรับรองรูปแบบข้อมูล ลายเซ็น ลายลักษณ์อักษร ต้นฉบับ พยานหลักฐาน การเก็บรักษาข้อมูล หมวดที่ 3 การส่งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ การเกิดและความสมบูรณ์ของสัญญา การรับรองของคู่สัญญา การรับข้อมูล เวลาสถานในการรับส่งข้อมูล

8 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงยุติธรรม กระทรวงคมนาคม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม

9 2. กฏหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Signatures Law) เพื่อรับรองการใช้ลายมือ ชื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยกระบวนการใดๆ ทางเทคโนโลยีให้เสมอด้วยการลงลายมือชื่อธรรมดา อันส่งผลต่อความ เชื่อมั่น มากขึ้นในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และกำหนดให้มีการกำกับดูแลการให้บริการ เกี่ยวกับ ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ตลอดจนการให้บริการอื่นที่เกี่ยวข้องกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์

10 ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Signatures)
หรือ ลายเซ็นดิจิตอล ( Digital Signatures) คือ กลุ่มของตัวเลขที่เกิดจากการเข้ารหัสทางคณิตศาสตร์ในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์โดยคอมพิวเตอร์ ทางกฎหมาย คือการทำเครื่องหมายบนข้อมูลดิจิตอลโดยการใช้รหัส ส่วนตัวโดยมีบุคคลภายนอกที่ทำหน้าที่รับรองว่าเป็นลายเซ็นของผู้เซ็นจริง ทางเทคนิค คือ ค่าทางคณิตศาสตร์ ที่ประทับบนข้อมูล โดยใช้วิธีทางคณิตศาสตร์เชื่อมโยง Private key and Public key

11 สาระสำคัญ ประเภทของเอกสารที่จำเป็นต้องลงลายชื่อดิจิตอล
การรับรองความถูกต้อง และการยกเลิก การรับรองความถูกต้องของหน่วยงานที่รับผิดชอบ การลงลายมือชื่อของนิติบุคคล และบุคคลธรรมดา การจดแจ้งทะเบียน ความรับผิดชอบของหน่วยงานที่รับรองความถูกต้อง ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้และหน่วยงานที่รับรองความถูกต้อง

12 ประเทศที่มีกฎหมายลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์
แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี ญี่ปุ่น มาเลเชีย สหราชอาณาจักร

13 หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง
กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงการคลัง กระทรวงมหาดไทย กระทรวงยุติธรรม สำนักงายอัยการสูงสุด กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม

14 5. กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Funds Transfer Law) เพื่อกำหนด กลไกสำคัญทางกฎหมายในการรองรับระบบการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งที่เป็นการโอนเงิน ระหว่าง สถาบันการเงินและระบบการชำระเงินรูปแบบใหม่ในรูปของเงินอิเล็กทรอนิกส์ก่อให้เกิดความ เชื่อมั่นต่อระบบ การทำธุรกรรมทางการเงินและการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มากยิ่งขึ้น

15 พัฒนาการของ เงิน การแลกเปลี่ยนสินค้า (Trade by Barter)
เงินตรา (Chattel money) --> เหรียญ ธนบัตร เงินพลาสติก (Plastic Money) เงินอิเล็กทรอนิกส์ (Digital Money)

16 ปัญหา เงื่อนไขสัญญา ส่วนมาก มักเป็นสัญญาสำเร็จรูป หรือเป็นสัญญาจำยอม ผู้บริโภคขาดอำนาจการต่อรอง การโอนเงิน ยังไม่มีกฏหมายเฉพาะในเรื่องพยานหลักฐานทางอิเล็กทรอนิกส์ ในการบอกยกเลิกการชำระเงิน วัน เวลา สถานที่ในการทำธุรกรรม การระเมิดสิทธิส่วนบุคคล เครื่องคอมพิวเตอร์ เกิดบกพร่อง

17 สาระสำคัญ รูปแบบและเจตนา และการพิสูจน์ในการชำระเงิน
สิทธิของ เจ้าหนี้ และลูกหนี้ ที่ไม่สามารถชำระเงินได้ คำสั่งให้ ชำระ ยกเลิกการชำระเงิน ความรับผิดชอบในความเสียหายจากการโอนเงิน การใช้การโอนเงินโดยมิชอบ ข้อกำหนดการโอนเงินระหว่างประเทศ

18 หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง
กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงการคลัง กระทรวงคมนาคม ธนาคารแห่งประเทศไทย กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม

19 ประเทศที่มีกฎหมายการโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์
สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย เยอรมัน สหราชอาณาจักร

20 4.กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ( Data Protection Law) เพื่อก่อให้เกิด การรับรอง สิทธิและให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งอาจถูกประมวลผล เปิดเผย หรือเผยแพร่ถึงบุคคลจำนวนมากได้ ในระยะ เวลาอันรวดเร็วโดยอาศัยพัฒนาการทางเทคโนโลยี จนอาจก่อให้เกิดการนำข้อมูลนั้นไปใช้ ในทาง มิชอบอันเป็นการละเมิดต่อเจ้าของข้อมูล ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงกภรรักษาดุลยภาพระหว่าง สิทธิขั้นพื้นฐานใน ความเป็นส่วนตัว เสรีภาพในการติดต่อสื่อสาร และความมั่นคงของรัฐ

21 5. กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ( Computer Crime Law) เพื่อกำหนดมาตรการ ทางอาญาในการลงโทษผู้กระทำผิดต่อ ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ ระบบข้อมูล และระบบเครือข่าย ซึ่งในปัจจุบันยังไม่มีบทบัญญัติของกฎหมายฉบับใดกำหนดว่าเป็นความผิด ทั้งนี้ เพื่อเป็นหลักประกัน สิทธิ เสรีภาพและการคุ้มครองการอยู่ร่วมกันของสังคม


ดาวน์โหลด ppt กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce Law)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google