1. วัฒนธรรมทางการเมือง. 2. วิวัฒนาการทางการเมือง การปกครอง. 3

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวอย่างที่ดีของโครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาล
Advertisements

ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
ผศ. วีระศักดิ์ จารุชัยนิวัฒน์
จิบน้ำชา สายสนับสนุน 22 มีนาคม 2554.
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
การมีส่วนร่วมทางการเมือง
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
สิ่งท้าทายพระสงฆ์ในบริบทสังคมปัจจุบัน
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....
รัฐศาสตร์ในยุคโลกาภิวัตน์
อุดมการณ์ทางการเมือง (Political ideology)
การเลือกตั้ง (Election)
Framework for Project Planning & Evaluation
โครงการส่งเสริมการออมภาคครัวเรือนเกษตรกร ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
ความหมาย การมีส่วนร่วมทางการเมือง
นางสาวณัฐราพร พรหมประสิทธิ์
ชื่อตัวบ่งชี้ 2.3 : เงินสนับสนุนงานวิจัยและงาน สร้างสรรค์จากภายนอกสถาบันต่อ อาจารย์ประจำ ( บาท ) 1. จุดอ่อน 1. อัตรากำลังของคณะฯ มีจำนวนน้อยและมีภาระ งานรับผิดชอบที่หลากหลาย.
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
๓ สถาบันทางสังคม (Social Institution)
ผู้นำกับประสิทธิภาพในการทำงาน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
Preparation for Democratic Citizen
การบริหารจัดการชุมชนเข้มแข็งกับการเมืองท้องถิ่น
ทุกท่านด้วยความยินดียิ่ง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
ข้อเสนอยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายพัฒนาบัณฑิตอุดมคติ เขตภาคกลาง 2554 จิรวัฒน์ วีรังกร.
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
ประวัติวิทยากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฉัตรมงคล แน่นหนา
ดร.ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร
การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
มิติใหม่ของการบริหารจัดการภาครัฐ
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
โครงการ นิสิตอาสาให้ความรู้การเลือกตั้ง กกต.
โดย ดร.สว่าง ภู่พัฒน์วิบูลย์
ประชุมการจัดทำกรอบอัตรากำลังของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (สายสนับสนุน) วันที่ 3-4.
ความรู้สู่การประชาสัมพันธ์งาน ด้านการศึกษา คณะวารสารศาสตร์และ สื่อสารมวลชน Knowledge Management.
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
นางสาวพรศิริ กลิ่นบำรุง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ์ ฯ
ต่อชุมชนและประเทศชาติ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
คณะกรรมการพัฒนายุทธศาสตร์ บริหารงานของ มหาวิทยาลัยราชภัฏตามแนว ทางการปฏิรูประบบราชการ.
นางสาววิไลวรรณ แซ่เตีย รองประธานคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การปฏิรูปการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
เรื่อง แนวคิดการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
พระสงฆ์กับการเมืองไทยในปัจจุบัน
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
หน้าที่ทางการตลาด Marketing Function
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1. วัฒนธรรมทางการเมือง. 2. วิวัฒนาการทางการเมือง การปกครอง. 3 1. วัฒนธรรมทางการเมือง 2. วิวัฒนาการทางการเมือง การปกครอง 3. ลำดับขั้นการมีส่วนร่วมทางการเมือง พ.ต.ท.ดร. ษณกร มั่นเมือง

วัฒนธรรมทางการเมือง วัฒนธรรม เป็นแนวความคิด แนวปฏิบัติ หรือเทคนิค วิธีการดั้งเดิมที่ใช้ร่วมกันโดยกลุ่มที่สามารถบอกได้ว่าเป็นกลุ่มคนพวกเดียวกัน วัฒนธรรมทางการเมือง เป็นแบบแผนของทัศนคติและความเชื่อของบุคคลที่มีต่อระบอบการเมืองของกลุ่มสมาชิกของระบบการเมืองหนึ่ง

วัฒนธรรมทางการเมือง แบ่งออกได้เป็น วัฒนธรรมการเมืองดั้งเดิม จำกัดวงแคบ ( parochial political culture ) วัฒนธรรมการเมืองแบบไพร่ฟ้า ( subject political culture ) วัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีส่วนร่วม ( participation political culture )

วัฒนธรรมทางการเมืองมีส่วนทำให้ประชาชนต้องการมีส่วนร่วมทางการเมือง จึงช่วยสนับสนุนระบอบประชาธิปไตย โดยวัฒนธรรมทางการเมืองของไทย กำลังเคลื่อนจากวัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้า ไปสู่วัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีส่วนร่วม

วิวัฒนาการของการของการเมืองไทย ปี พ.ศ. ยุค ตัวแสดงที่สำคัญ 2475-2515 รัฐราชการ (อุปถัมภ์ ประชาธิปไตย) ข้าราชการและเทคโนแครต 2516- 2519 ประชาธิปไตยแบ่งบาน นักเรียน นักศึกษา 2520-2535 (พฤษภาทมิฬ) ประชาธิปไตยครึ่งใบ ( การประนีประนอมระหว่างเผด็จการกับประชาธิปไตย) ข้าราชการและนักธุรกิจ 2535- ปัจจุบัน การปฏิรูปการเมือง (หลังพฤษภาทมิฬประชาชนต้องการมีส่วนร่วมมากขึ้น) นักธุรกิจและประชาชน ดัดแปลงจาก ณัชชาภัทร อุ่นตรงจิตร ( 2554 , หน้า 212)

ลำดับขั้นการมีส่วนร่วมทางการเมือง (เดิม) 4 3 4 Milbrath 1965 หน้า 18 อ้างถึงใน D. Ruedin 2007

ลำดับขั้นการมีส่วนร่วมทางการเมือง มีลักษณะ 4 ประการ คือ 1) การกำหนดตัวผู้ปกครอง 2) การผลักดันการตัดสินใจของรัฐบาล 3) การวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาล 4) การชุมนุมเคลื่อนไหวทางการเมือง

(Milbrath, 1965 อ้างถึงใน สมบัติ ธำรงธัญวงศ์, 2542: 326)

ลำดับขั้นของการมีส่วนร่วมทางการเมือง จะมีลักษณะสะสม จากน้อยไปหามาก จากต่ำสุดไปสูงสุด 14 ลำดับขั้น เป็นลำดับของความเกี่ยวพันทางการเมือง ดังนี้ 1.กิจกรรมของผู้สนใจทางการเมือง 4 ขั้น 1) การแสดงความสนใจต่อกิจกรรมทางการเมือง 2) การใช้สิทธิเลือกตั้ง 3) การริเริ่มประเด็นพูดคุยทางการเมือง 4) การชักจูงผู้อื่นให้เลือกตั้งผู้ที่ตนสนับสนุน

ลำดับขั้นของการมีส่วนร่วมทางการเมือง 2. กิจกรรมปรับเปลี่ยนทางการเมือง 4 ขั้น 1)การติดกระดุมหรือสติ๊กเกอร์เพื่อแสดงการสนับสนุน 2)การติดต่อกับนักการเมืองหรือผู้นำทางการเมือง 3) การบริจาคเงินสนับสนุนทางการเมือง 4) การร่วมประชุมหรือชุมนุมทางการเมือง

ลำดับขั้นของการมีส่วนร่วมทางการเมือง 3. กิจกรรมการต่อสู้ทางการเมือง 6 ขั้น การร่วมรณรงค์ทางการเมือง การเป็นสมาชิกสำคัญของพรรคการเมือง การร่วมประชุมแกนนำของพรรค การร่วมระดมทุน การเสนอตัวเป็นคู่แข่งทางการเมือง การดำรงตำแหน่งทางการเมือง

อ้างอิง Milbrath, L. W. (1965). Political Participation: How and Why Do People Get Involved in Politics? Chicago: Rand McNally สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ (2542). การเมือง: แนวความคิดและการพัฒนา (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพ.สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ D. Ruedin (2007) . TESTING MILBRATH’S 1965 FRAMEWORK OF POLITICAL PARTICIPATION: INSTITUTIONS AND SOCIAL CAPITAL. England.university of oxford ณัชชาภัทร อุ่นตรงจิตร (2554). รัฐศาสตร์ ( พิมพ์ครั้งที่ 9). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย