การพัฒนาผลการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และความเข้าใจคงทน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
Advertisements

ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่อง กระดาษทำการ 8 ช่อง ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวชิราโปลีสงขลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
นางฐานิตา ทองศิริ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
งานวิจัย เรื่อง การฝึกทักษะ 5 ประการที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ประยุกต์ 1 เรื่องระบบจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม ของนักเรียนชั้น ปวช.
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปีที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร.
ผลงานวิจัย โดย อ. หัสยา วงค์วัน
นางสาวทัศนา จันทะเรือง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
วิจัย เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้เรื่อง เงินเฟ้อ-เงินฝืด วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ของผู้เรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
ผู้วิจัย นางระเบียบ คุณากร วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง พัฒนาการสอนแบบสาธิตร่วมกับการลงมือปฏิบัติเรื่อง การตะไบผิวเรียบเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อาจารย์ ว่าที่ ร.ต. ศุภกร.
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย.
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
อาจารย์นริสรา คลองขุด
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
ครูโรงเรียนเมืองชลพณิชยการ จ. ชลบุรี
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ชื่อผู้ วิจัย นางสาวพัชราภรณ์ ใจบุญมา
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
วุฒิการศึกษา/สถานศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาผลการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และความเข้าใจคงทน ของนักศึกษา ปวช.3/4 แผนกวิชาการท่องเที่ยว ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบซินเนคติคส์ (Synetics Instruction Model) ในรายวิชาการโรงแรม รัตติกาล ก้อนแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่

ปัญหาการวิจัย กลวิธีการสอนแบบซินเนคติคส์ (Synectics) เป็นกลวิธีการสอนที่พัฒนามาจากพื้นฐานของจิตวิทยาความคิดสร้างสรรค์ ทำให้ผู้เรียน มีความสามารถในการปฏิบัติภาระงาน/ชิ้นงาน ที่แสดงความเข้าใจที่คงทนหรือเข้าใจที่ลึกซึ้งและยั่งยืนจะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา (Enduring Understanding) ทำให้ผู้เรียนเกิดมุมมองใหม่ ๆ ในหัวข้อต่าง ๆ จนสามารถนำมาประยุกต์ในการทำงานของตนได้ ผู้วิจัยในฐานะอาจารย์ผู้สอนในรายวิชาการโรงแรม จึงมีความสนใจที่พัฒนาผลการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และความเข้าใจคงทนของนักศึกษาระดับ ปวช.3/4 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบซินเนคติคส์ เพื่อจะนำไปสู่การพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาในอนาคตต่อไป

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ในรายวิชาการโรงแรม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวช.3/4 แผนกวิชาการท่องเที่ยว วิทยาลัยพณิชยการเชียงใหม่ 2. เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับชั้น ปวช.3/4 ก่อนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบซินเนติคส์ 3. เพื่อศึกษาความเข้าใจที่คงทน ในรายวิชาการโรงแรม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวช.3/4 แผนกวิชาการท่องเที่ยว 4. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาแผนกวิชาการท่องเที่ยว ระดับชั้น ปวช.3/4 ที่มีต่อ การจัดการเรียนรู้แบบซินเนติคส์

วิธีดำเนินการวิจัย ขั้นก่อนการทดลอง สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ผู้วิจัยทบทวนเกี่ยวกับวิธีการเรียนรู้ให้กับนักศึกษากลุ่มตัวอย่าง ให้นักศึกษาทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบทดสอบ วัดความคิดสร้างสรรค์ก่อนเรียน ขั้นทดลอง ผู้วิจัยได้ดำเนินการสอนด้วยตนเองตามแผนการจัดการเรียนรู้ แบบซินเนติคส์ ที่สร้างไว้

วิธีดำเนินการวิจัย ขั้นหลังการทดลอง ภายหลังเสร็จสิ้นการดำเนินการทดลอง ผู้วิจัยนำแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบซินเนคติคส์ ส่วนแบบประเมินความเข้าใจคงทน จะให้นักศึกษาทำภาระงาน ชิ้นงาน ภายหลังเสร็จสิ้นการดำเนินการทดสอง เพื่อประเมินความเข้าใจที่คงทน ทั้ง 6 ด้าน

การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบซินเนติคส์ ใช้วิธีการวิเคราะห์เทียบกับเกณฑ์คือ ร้อยละ 70 โดยการทดลองแบบ The One-Shot Case Study วิเคราะห์ความคิดสร้างสรรค์และความเข้าใจคงทน ใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความคิดเห็นของนักศึกษา ใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ เนื้อหา (Content Analysis)

สรุปผลการวิจัย 1 นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการโรงแรมภายหลังจากจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการซินเนคติคส์หลังเรียนมีค่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 81.51 ซึ่งถือว่าผ่านเกณฑ์ที่ตั้งไว้ร้อยละ 70 2 ภายหลังจากการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการซินเนคติคส์ นักศึกษามีความคิดสร้างสรรค์ต่างจากก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ .05 โดยหลังเรียน นักศึกษามีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นมากกว่าก่อนเรียน

สรุปผลการวิจัย 3 นักศึกษามีความเข้าใจที่คงทนภายหลังจากการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการ ซินเนคติคส์ก่อนและหลังเรียนแตกต่างกัน โดยภายหลังเรียน นักศึกษามีความเข้าใจที่คงทนมากขึ้นกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4 นักศึกษามีระดับความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนรู้แบบซินเนติคส์ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก