สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
Advertisements

นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย นางบุปผา แย้มชุติ
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นางฐานิตา ทองศิริ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนยีวิมล.
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้

การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปีที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร.
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
***นำเสนอผลงานวิจัย***
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
นางสาวถนอมนวล ฐาปนพงษ์ไพบูลย์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
อาจารย์นริสรา คลองขุด
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โดย นางกุหลาบ พรหมจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ สอนรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 1 กลุ่ม A11 และ A12.
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
วุฒิการศึกษา/สถานศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชา เครื่องกล สาขางาน ยานยนต์ ชั้นปีที่ 1/2 โดยการใช้สื่อการสอนแบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ชื่อผู้วิจัย / ตำแหน่ง นาย เตวิช สุรพงษ์วณิชกุล ตำแหน่ง ครูผู้สอน หมวดวิชาเทคนิคพื้นฐาน สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก

ปัญหาการวิจัย ในการเรียนการสอนวิชา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย เนื้อหาในบทที่ทำการวิจัยนี้จะเน้นถึงการศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลัก ความปลอดภัยเบื้องต้น ผู้สอนจะประสบปัญหากับการจัดการเรียนการสอนที่นักศึกษาขาดความสนใจใฝ่ที่จะศึกษา ครูผู้สอนจะถ่ายทอดความรู้ใช้วิธีการบรรยายหรืออธิบายสอนให้นักเรียน และนักศึกษา จะไม่ให้ความร่วมมือในการเรียนการสอน จึงส่งผลให้เกิดความเบื่อหน่ายและไม่น่าสนใจของผู้เรียน ซึ่งสภาพปัญหาดังกล่าวนี้ชี้ให้เห็นว่า ปัญหาในการจัดการเรียนการสอนควรได้รับการปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้การเรียนวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สัมฤทธิ์ผลตามจุดประสงค์ของการจัดการเรียนการสอน

วัตถุประสงค์ ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) 1/2 1. เพื่อสร้างสื่อการเรียนการสอนวิชา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย รหัส (2001-0005) เรื่อง ความปลอดภัยเบื้องต้น ของนักเรียน สาขาวิชา เครื่องกล สาขางาน ยานยนต์ ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) 1/2 2. พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย รหัส (2001-0005) เรื่อง ความปลอดภัยเบื้องต้น ของนักเรียน สาขาวิชา เครื่องกล สาขางาน ยานยนต์ ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ( ปวช.) 1/2 ที่สอนโดยใช้การสอนโดยการใช้ สื่อการสอนแบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบก่อนเรียนกับหลังเรียนวิชา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย รหัส (2001-0005) เรื่อง ความปลอดภัยเบื้องต้น ของนักเรียน สาขาวิชา เครื่องกล สาขางาน ยานยนต์ ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) 1/2 ที่สอนโดยใช้การสอนโดยการใช้ สื่อการสอนแบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

ตารางที่ 1 แสดงจำนวนร้อยละค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนน ตารางที่ 1 แสดงจำนวนร้อยละค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนน ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คะแนน ร้อยละ S.D. ————————————————————— ———————————— คะแนนทดสอบก่อนเรียน 20 4.4 2.28 คะแนนทดสอบหลังเรียน 95 9 1.29 ————————————————————————————————————————————— จากตารางที่ 1 พบว่าผลสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ย ( = 4.4) (S.D. = 2.28) คิดเป็นร้อยละ 20 ส่วนผลสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบหลังเรียนมีค่าเฉลี่ย ( = 95 ) (S.D = 1.29) คิดเป็นร้อยละ 95

ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของคะแนนทดสอบ ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของคะแนนทดสอบ ก่อนเรียนและหลังเรียนวิชา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย คะแนน ร้อยละ S.D. t ——————————————————————————— คะแนนทดสอบก่อนเรียน 20 4.4 2.28 - คะแนนทดสอบหลังเรียน 95 9 1.29 9 ————————————————————————————————————— T (.05 , df 19 ) = 1.7291 จากตารางที่ 2 พบว่าค่า t ที่คำนวณได้มีค่าเท่ากับ 11 ส่วนค่า t จากตารางที่ระดับ .05 , df 19 มีค่าเท่ากับ 1.7291 ซึ่งค่า t ที่ได้จากการคำนวณมีค่ามากกว่าค่า t ในตาราง นั่นคือคะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนนที่ได้จากการทดสอบก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้

พบว่าผลสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน สรุปผลการศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา อาชีวอนามัยและความปลอดภัยเรื่อง ความปลอดภัยเบื้องต้น ของนักเรียน สาขาวิชา เครื่องกล สาขางาน ยานยนต์ ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช.) 1/2 ที่สอนโดยใช้การสอนโดยการใช้ สื่อการสอนแบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 2.28) ส่วนผลสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = 1.29) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบก่อนเรียนหลังหลังเรียนวิชาเรื่อง ความปลอดภัยเบื้องต้น ของนักเรียน สาขาวิชา เครื่องกล สาขางาน ยานยนต์ ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช.) 1/2 ที่สอนโดยใช้การสอนโดยการใช้ สื่อการสอนแบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน พบว่าผลสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน

การนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ 1.เป็นแนวทางสำหรับครูอาจารย์ที่สนใจการใช้การสอนโดยการใช้สื่อการสอน แบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2. เป็นส่วนในการช่วยพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น 3. เป็นแนวทางการวิจัยโดยใช้วิธีการสอนโดยการใช้สื่อการสอนแบบ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในรายวิชาอื่น ๆ ต่อไป

จบการนำเสนอ