Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

แนวคิด ในการดำเนินงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
โรงเรียน อสม. ตำบลหนองไม้แก่น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
รูปแบบแผนชุมชน.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
ระบบส่งเสริมการเกษตร
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
สรุปการประชุม F.S.C เขตบริการสุขภาพที่ 2
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
แผนงาน พัฒนาศักยภาพเครือข่าย เพื่อการขับเคลื่อนงาน อาหารและโภชนาการเชิง รุก โดย นายสง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ 9 กรมอนามัย.
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ?? ภาพเปิดตัวโครงการฯ ภาคกลาง นนทบุรี เพชรบุรี สมุทรปราการ

สื่อสารโครงการ/แผนสื่อสาร Roadmap สื่อสารโครงการ/แผนสื่อสาร ผู้บริหารรับโครงการ (ผู้ว่าราชการจังหวัด) จัดอบรมกลุ่มเป้าหมายระดับพื้นที่ หลักสูตรศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 หลักสูตร หลักสูตรโรงเรียน 4 หลักสูตร แกนนำชุมชน 1 หลักสูตร หลักสูตรผู้บริหาร/อปท./สื่อมวลชน 1 หลักสูตร จัดตั้งทีมงานจังหวัด (สหวิชาชีพ) / ประชุมชี้แจง พัฒนาทีมวิชาการ เปิดตัวโครงการ พัฒนาทีมนักการตลาดเชิงสังคม จัดทำแผนยุทธศาสตร์/แผนงาน/โครงการ ระดับจังหวัด/พื้นที่ แต่ละพื้นที่ดำเนินงาน ตามยุทธศาสตร์ / โครงการ เวทีประชาคมระดับพื้นที จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ติดตาม ประเมินผล ปรับแผนและพัฒนางาน

การจัดทำแผนยุทธศาสตร์เพื่อเด็กไทย มีโภชนาการสมวัย

ทีมวิทยากร ประกอบด้วย จากท้องถิ่นจังหวัด จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์ มหาวิทยาลัยในพื้นที่ ศูนย์อนามัยที่ 1 3 4 ศูนย์ประสานงานโครงการพัฒนาระบบและ กลไกเพื่อเด็กไทยมีโภชนาการสมวัย ฯลฯ

ตัวอย่าง การจัดทำแผนปฏิบัติงาน โภชนาการสมวัย ภาคใต้ (สงขลา / ภูเก็ต)

นำความคาดหวัง / บทบาท หน้าที่ ของ อปท. มาแปลงเป็นแผนสู่การปฏิบัติ วิสัยทัศน์ : “เด็กไทยมีโภชนาการสมวัย และมีศักยภาพในการพัฒนาชาติ บ้านเมือง ให้เจริญก้าวหน้าในอนาคต” หรือ “เด็กในชุมชน / อบต. / เทศบาล..................มีโภชนาการสมวัยทั่วหน้า ในปี 2556 หรือ ...............................................

2. ด้านการพัฒนาบุคลากรและภาคีเครือข่าย (บทบาท) ความคาดหวังต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการพัฒนาระบบและกลไก เพื่อเด็กไทยมีโภชนาการสมวัย ในระยะ 3 ปี 1. ด้านโครงสร้าง 2. ด้านการพัฒนาบุคลากรและภาคีเครือข่าย 3. ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมโภชนาการ 4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ

ตัวอย่างแผนโภชนาการสมวัย ภาคใต้ วิสัยทัศน์ : “เด็กในชุมชน / อบต. / เทศบาล..................มีโภชนาการสมวัยทั่วหน้า ในปี 2556 โดย อปท. มีการพัฒนางานอาหารและโภชนาการให้เกิดชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก และโรงเรียนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ หรือ ...............................................

พันธกิจ เด็กไทยมีศักยภาพในการดูแลตนเองด้านอาหารและโภชนาการ เพื่อสุขภาวะที่ดีตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา ส่งเสริมให้มีการกำหนดโครงสร้างด้านการบริหารจัดการ เพื่อเด็กไทยมีโภชนาการสมวัย ส่งเสริมและสนับสนุนทรัพยากรบุคคล เงิน ในการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายนำไปสู่การมีภาวะโภชนาการสมวัย สนับสนุนภาคีเครือข่ายในการพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ ขับเคลื่อนงานอาหารและโภชนาการอย่างมีประสิทธิภาพจนเกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน วางระบบและกลไกการบริหารจัดการ และการติดตามประเมินผลแบบมีส่วนร่วม