S terilization P itfalls สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน
Advertisements

การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
Visual Control งานโภชนาการ รพ.สงขลานครินทร์.
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การกำหนดมาตรฐานอื่นๆ เรื่องโครงสร้างกายภาพ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย
II – 2.1 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing)
II – 4 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
ภก. ปรมินทร์ วีระอนันตวัฒน์
สรุปผลหลังการฝึกทักษะประกอบรายวิชา สถานีอนามัยบ้านหนองปลาน้อย ตำบลเหล่าปอแดง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร นักศึกษาสาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน ปีที่ 3.
เรียนรู้ดูประสบการณ์จริง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
องค์ประกอบที่ 3 การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 120 คะแนน 3.1 การจัดการโครงสร้างทางกายภาพ และสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ.
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ประเด็น หลักที่ 4 การบริหาร จัดการระบบ สุขภาพ. 4.1 การ บริหาร การเงินการ คลัง CFO.
HA 2011 overall scoring และการนำไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพรพ.
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการโรงพยาบาล
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
มาตรฐานการควบคุมภายใน
นวัตกรรม ของ งานจ่ายกลาง และงานซ่อมบำรุง ปี 2552
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
เข็มมุ่ง บุคลากรทุกคนทุกระดับในกลุ่มการพยาบาลใช้หลัก Standard precautions (การปฏิบัติขั้นพื้นฐานเพื่อป้องกันการติดเชื้อ)ในการปฏิบัติงาน ผู้ป่วยที่สามารถแพร่กระจายเชื้อหรือมีความไวต่อการรับเชื้อได้รับการดูแลตามหลัก.
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
Back Office: หัวใจของระบบทั้งหมดในโรงพยาบาล
การสื่อสารยุทธศาสตร์ปี 2558
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
การสนับสนุนบทบาท อสม.ในการป้องกันควบคุมโรค
1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
โครงการลดภาวะแผลฝีเย็บแยก
1. การ ดำเนินงานตามกฎระเบียบ การประกันสังคม 2. ความสามารถ ในการดำเนินการ เรียกเก็บเงินได้ตามกำหนด 3. ความรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วนใน การให้บริการ 4. การมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย.
ทีมงาน.
2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอ 3. แนวทางการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากการบริจาค 1. การคัดกรองผู้บริจาคโลหิต 4. ความพร้อมในการช่วยเหลือ.
ข้อสั่งการ ของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การเตรียมความพร้อมรองรับ สถานการณ์น้ำท่วม 1. การป้องกันสถานที่ / ตรวจตรา / ซ่อมสร้าง ความเข้มแข็งของแนวป้องกัน.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สิ่งคุกคามสุขภาพในโรงพยาบาล และปัญหาที่พบแต่ละแผนก
1. แนวทางการรับคำสั่งการใช้ รถ การประกันระยะเวลาการ รับส่งผู้ป่วย 4. ความรู้ความสามารถของ พขร. ในเรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพ การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย กฎจราจร.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
งานจ่ายกลาง โรงพยาบาลบ้านเขว้า
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การประเมิน / จำแนกผู้ป่วย เพื่อรับการรักษา 2. การทำงานร่วมกับสหวิชาชีพ 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีความ เสี่ยงสูง เช่นผู้ป่วยหลอดเลือด สมอง ผู้ป่วยที่ไม่สามารถ.
6. การทำงานเป็นทีมระหว่างสาขา วิชาชีพ 1. การคัดกรองจำแนกประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่อาจถูกคัดกรอง ผิดพลาด 2. การระบุตัวผู้ป่วยในกรณีต้อง เคลื่อนย้ายผู้ป่วย.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

S terilization P itfalls สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ผุสดี บัวทอง สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

II – 4 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ (Infection Prevention and Control) 4.3 องค์กรใช้วิธีการที่เหมาะสมในการเฝ้าระวังและติดตามกำกับ เพื่อค้นหาและควบคุมการติดเชื้อ และจัดการกับสถานการณ์ที่มีการระบาดของการติดเชื้อในโรงพยาบาล การติดเชื้อ ต่ำที่สุด 4.2 องค์กรสร้างความมั่นใจว่ามีการปฏิบัติที่เหมาะสมเพื่อการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล 4.1 ระบบการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อขององค์กร ได้รับการออกแบบอย่างเหมาะสม ได้รับการสนับสนุนทรัพยากรเพียงพอ และมีการประสานงานที่ดี

II – 4.2 ปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อ (Infection Prevention) องค์กรสร้างความมั่นใจว่ามีการปฏิบัติที่เหมาะสมเพื่อการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล ติดตามประเมินผล Standard Precaution Clean/disinfect/sterilization Infectious waste Hand hygiene กลยุทธ์เพื่อลดความเสี่ยงจากการติดเชื้อ 1 ออกแบบระบบ อากาศ, โครงสร้างอาคาร, น้ำ, น้ำยาทำลายเชื้อ 2 ควบคุมสิ่งแวดล้อม จัดการ ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในพื้นที่เสี่ยง OR, LR, ICU, ซักฟอก, จ่ายกลาง, ครัว, กายภาพบำบัด, เก็บศพ การติดเชื้อ ต่ำที่สุด 3 SSI, VAP, CAUTI, IV infection, BSI, Sepsis 4 ป้องกันการติดเชื้อสำคัญ ผู้ป่วยที่ติดเชื้อทางเลือด, ภูมิต้านทานต้ำ, เชื้อดื้อยา, การติดเชื้ออุบัติใหม่ การดูแลผู้ป่วย ที่มีความซับซ้อน 5 ทรัพยากรสนับสนุน

C-PDSA 3

ประสบการณ์เยี่ยมสำรวจ HA ประสบการณ์เยี่ยมสำรวจ การทำให้ปราศจากเชื้อ มีที่ดำเนินการอยู่หลายหน่วยงาน รวมทั้งหน่วยจ่ายกลาง เป็นศูนย์รับนึ่งเครื่องมือ หรือ เป็นศูนย์เฉพาะ ล้าง หีบห่อเครื่องมือ (นึ่งที่หน่วยงานอื่น) เป็นศูนย์เฉพาะเครื่องมือขนาดเล็ก เป็นศูนย์จ่ายกลางครอบคลุมหน่วยงานส่วนใหญ่ มักยกเว้น ห้องผ่าตัด ทันตกรรม ห้องคลอด ศูนย์จ่ายกลางทั้งระบบ (มีทั้งพร้อมดำเนินการ และไม่พร้อมแต่ถูกกดดัน) ลักษณะบริการหลากหลาย เชิงรุก/ รอรับ ระบบบริหารจัดการ

Customer sastisfaction Key Process in CSSD Dirty equipment Prep/Pack Clean Received Safety, Customer sastisfaction Safety, standard standard Store Monitor Sterile standard standard Issue/Use Safe equipment 6

HA Reality

HA Reality

HA Reality

HA Reality

HA Reality

HA

ประสบการณ์เยี่ยมสำรวจ HA ประสบการณ์เยี่ยมสำรวจ การล้างทำความสะอาดที่กระจายอยู่ตามหอผู้ป่วย/หน่วยงานอื่น (เช่น ศูนย์สำรองครื่องมือ ...) ไม่ได้ตามมาตรฐานทั้งกระบวนการ และ การจัดการพื้นที่ ขาดการกำกับดูแล ยกเป็นหน้าที่ของผู้ช่วยเหลือคนไข้ /หรือแม่บ้าน บุคลากรที่เกี่ยวข้องไม่ทราบประเภท คุณสมบัติน้ำยาที่ใช้ ทำให้การทำลายเชื้อไม่มีประสิทธิภาพ Clean Pitfall

ประสบการณ์เยี่ยมสำรวจ HA ประสบการณ์เยี่ยมสำรวจ การทำลายเชื้ออุปกรณ์ที่เป็นพวก lumen ยังเป็นปัญหาค่อนข้างมาก โดยเฉพาะในการล้างโดยไม่ใช้เครื่องล้าง หน่วยงานพิเศษ เช่น หน่วย scope ขาดการกำกับจาก ICN Clean Pitfall

ประสบการณ์เยี่ยมสำรวจ HA ประสบการณ์เยี่ยมสำรวจ การจัดสถานที่พบปัญหาการแบ่งพื้นที่เช่น บริเวณห่ออุปกรณ์ บริเวณทำให้ปราศจากเชื้อ และบริเวณเก็บอุปกรณ์ปราศจากเชื้อ การเตรียมอุปกรณ์ที่จะทำให้ปราศจากเชื้อไม่ถูกต้อง ไม่คำนึงถึงขนาด/ปริมาณของอุปกรณ์ที่บรรจุในแต่ละห่อ (เช่น นำมาใส่รวมในถุงใหญ่มากกว่าที่กำหนด) การบันทึกฉลากที่ไม่ครบถ้วน ไม่เข้าใจเป้าหมายการบันทึก (เช่น บันทึกเครื่องนึ่งล่วงหน้า ทำให้ไม่ตรงกับที่นึ่งจริง) Pitfall Pre- pack Sterilization

ประสบการณ์เยี่ยมสำรวจ HA ประสบการณ์เยี่ยมสำรวจ หน่วยที่ทำให้ปราศจากเชื้อมีหลายที่ เช่น ห้องผ่าตัด ทันตกรรม จ่ายกลาง เภสัชกรรม บุคลากรขาดความรู้ ไม่เข้าใจวิธีการทำให้ปราศจากเชื้อ ไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนการทำให้ปราศจากเชื้อ Pitfall การจัดห่ออุปกรณ์เข้าเครื่อง ไม่ถูกต้อง บรรจุของมากเกินไป ทำให้ความร้อน/ไอน้ำแทรกซึมเข้าไปไม่ทั่วถึง ไม่เข้าใจเป้าหมายของการทดสอบประสิทธิภาพของเครื่องทำให้ปราศจากเชื้อ ทั้งทางกายภาพ ทางเคมี ทางชีวภาพ Pre- pack Sterilization

ประสบการณ์เยี่ยมสำรวจ HA ประสบการณ์เยี่ยมสำรวจ การขนย้ายของที่นึ่งแล้วมีโอกาสปนเปื้อน โดยเฉพาะกรณีขนย้ายข้ามแผนกเพื่อนำไปจัดเก็บ การจัดเก็บ (มาตรการที่ทำให้คงสภาพการปราศจากเชื้อตามอายุที่กำหนด) ทั้งในหน่วยจ่ายกลางและหน่วยงาน เป้าหมายการนำอุปกรณ์ปราศจากเชื้อมาใส่ถุงพลาสติกซ้ำ (บางแห่งยืดอายุไปนานเป็นปีๆ) สถานที่จัดเก็บของที่นึ่งแล้วไม่ได้ตามมาตรฐานที่กำหนด ขาดการสำรวจติดตามสภาพการจัดเก็บตามบริบท ในทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กระบวนการทำ re sterile ที่ไม่เหมาะะสม เช่น แค่ลอกฉลากเดิมออก แล้วติดใหม่ Pitfall Storage

HA Storage

ประสบการณ์เยี่ยมสำรวจ HA Pitfall ประสบการณ์เยี่ยมสำรวจ ขาดการสนับสนุนจริงจัง ทั้งด้านโยบายที่ชัดเจน รวมถึงสนับสนุนทรัพยากรต่างๆ เช่น อาคารสถานที่ บุคลากร อุปกรณ์ ขาดการประสาน ควบคุมกำกับติดตาม จากทีมหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ข้อจำกัดด้านโครงสร้าง / ทรัพยากรต่างๆ ความเข้าใจเป้าหมายของระบบ/กระบวนการทำให้ปราศจากเชื้อของผู้ปฏิบัติงาน ภาพรวมสาเหตุ

T hank you สวัสดีค่ะ