สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
HPC 11 กรอบแนวทางการดำเนินงาน นโยบายกรมอนามัย ศูนย์อนามัยที่ 11 ปีงบประมาณ 2553 กลุ่มยุทธศาสตร์ 31 กค. 52.
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
โรงเรียน อสม. ตำบลหนองไม้แก่น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ เด็กวัยเรียนและเยาวชน
การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สกลนครโมเดล.
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
กรอบการดำเนินงาน แผนงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
แนวทางการดำเนินงาน วัยเรียน กรมสุขภาพจิต
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน ประเด็น พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มวัยเรียน 28 สิงหาคม 2557 โรงแรมลีการ์เด้น พลาซ่า หาดใหญ่ จ. สงขลา โดย แพทย์หญิงนภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล ผู้อำนวยการสำนักโภชนาการ

เด็กไทยเติบโตสมวัย สมองดี คิดดี มีความสุข กรอบแนวคิด เด็กไทยเติบโตสมวัย สมองดี คิดดี มีความสุข เริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกินร้อยละ 10 ส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนร้อยละ 70 ความชุกโรคฟันผุไม่เกินร้อยละ 50 IQ เฉลี่ย ไม่ต่ำกว่า 100 ร้อยละ 70 มี EQ ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์ การเสียชีวิตจากการจมน้ำ ≤ 6.5 ต่อแสน สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อ พัฒนาและสร้างความตระหนักแก่บุคลากร พัฒนาคุณภาพอาหาร ขนม และเครื่องดื่ม พัฒนาศักยภาพภาคี ค้นหากลุ่มเสี่ยง พัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยี มาตรฐาน สนับสนุนการจัดบริการในพื้นที่ พัฒนาระบบเฝ้าระวัง นิเทศ ติดตาม ประเมินผล การเข้าถึงบริการสุขภาพ ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคใน โรงเรียน และชุมชน ภาคีเครือข่าย ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และทิศทางการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มวัยเรียน ร.ร.ลีการ์เด้น พลาซ่า จ.สงขลา 28 ส.ค. 57

ปัญหาการเจริญเติบโตของเด็กวัยเรียน

ภาวะอ้วนของเด็กอายุ 6 – 12 ปี แบ่งตามขนาดปัญหา The Best (ภาวะอ้วน < 8 %) General (ภาวะอ้วน 8 -10 %) The Bad (OFI) (ภาวะอ้วน > 10 %) เขต (ร้อยละ) 5 7.3 1 9.3 3 11.3 7 7.8 2 9.4 4 12.3 8 6.3 9 8.7 6 12.4 - 10 9.1 12 11.1 11 รวม 3 เขต รวม 5 เขต รวม 4 เขต หมายเหตุ : Opportunity For Improvement (OFI) ( เขต 3 นครสวรรค์, เขต 4 สิงห์บุรี, เขต 6 สมุทรปราการ, เขต 12 สงขลา) พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และทิศทางการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มวัยเรียน ร.ร.ลีการ์เด้น พลาซ่า จ.สงขลา 28 ส.ค. 57

ปัญหาที่พบในเขตพื้นที่ The Bad (OFI) ภาวะอ้วนในเขตเมืองสูงกว่าเขตอำเภออื่น ๆ ระบบข้อมูล : ขาดคุณภาพ และความครอบคลุม : ไม่มีการส่งต่อข้อมูลภาวะอ้วนให้กับรพ.สต. เพื่อแก้ไขปัญหา : จนท.ในพื้นที่ขาดทักษะการใช้โปรแกรมเฝ้าระวังการเจริญเติบโต ไม่มีแผนการจัดการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมด้านอาหาร โภชนาการ ในและรอบรั้วโรงเรียน การเข้าถึงแหล่งอาหารของนักเรียน แผนการดำเนินงานแก้ไขปัญหาภาวะอ้วนในพื้นที่ไม่ชัดเจนทั้งระดับจังหวัดและCUP และขาดการบูรณาการทั้ง โรงเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ไม่มีแผนการแก้ไขปัญหาในช่วงเด็กปิดเทอม และการติดตามผลที่บ้าน ขาดการวิเคราะห์หาสาเหตุที่แท้จริง พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และทิศทางการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มวัยเรียน ร.ร.ลีการ์เด้น พลาซ่า จ.สงขลา 28 ส.ค. 57

แนวทางการแก้ไขปัญหา ปรับปรุงคุณภาพระบบข้อมูลด้านโภชนาการ จัดแผนการดำเนินงานแก้ไขปัญหาภาวะอ้วนในโรงเรียน ตามบริบทของพื้นที่ พัฒนาคุณภาพอาหาร อาหารว่าง นม ขนม และเครื่องดื่ม ในและรอบรั้วโรงเรียนให้ได้มาตรฐานโภชนาการ ปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเข้าถึงแหล่งอาหารที่ทำให้เกิดภาวะอ้วน สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างความตระหนักให้กับบุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เฝ้าระวังติดตามเป็นระยะ พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และทิศทางการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มวัยเรียน ร.ร.ลีการ์เด้น พลาซ่า จ.สงขลา 28 ส.ค. 57

เป้าหมาย ไม่เกินร้อยละ 50 ความชุกการเกิดโรคฟันผุ ในเด็กอายุ 12 ปี พ.ศ. 2556 เป้าหมาย ไม่เกินร้อยละ 50 ที่มา :เฝ้าระวังทันตสุขภาพ สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย

ปัญหา IQ EQ ของเด็กวัยเรียน พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และทิศทางการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มวัยเรียน ร.ร.ลีการ์เด้น พลาซ่า จ.สงขลา 28 ส.ค. 57

KPI ระดับจังหวัด (นักเรียนในโรงเรียน) แผนงานบูรณาการกลุ่มวัยเรียน ปี 2558 KPI ระดับกระทรวง เด็กนักเรียนเริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกินร้อยละ 10 IQ เฉลี่ย ≥100 และร้อยละ 70 มี EQ ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (ปี 2559) อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรเด็กแสนคน จากการจมน้ำของเด็ก (อายุต่ำกว่า 15 ปี ) ≤ 6.5 KPI ระดับเขตสุขภาพ 1.จำนวนโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 95 2.จำนวนโรงเรียนที่ดำเนินกิจกรรมผ่านเกณฑ์ KPI ระดับจังหวัด ทุกด้าน ร้อยละ 40 3.จำนวนการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็ก (อายุต่ำกว่า 15 ปี ) ลดลงตามเกณฑ์ในแต่ละพื้นที่เสี่ยง KPI ระดับจังหวัด (นักเรียนในโรงเรียน) เด็กนักเรียนได้รับการประเมิน/แก้ไขภาวะโภชนาการ ร้อยละ 100 - เด็กนักเรียนมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนร้อยละ 70 เด็กนักเรียนและเยาวชนในพื้นที่ทุรกันดารมีโรคหนอนพยาธิ ไม่เกิน ร้อยละ 8 เด็ก ป. 1 ทุกคนได้รับการตรวจสายตาและการได้ยิน โดยร้อยละ 80 ของเด็กที่มีปัญหาได้รับการช่วยเหลือแก้ไข รพช. มีระบบเฝ้าระวังปัญหา IQ EQ ร้อยละ 70 รพ.สต./รพช.ให้บริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกันแก่นักเรียนชั้น ป 1 และ ป 6 ร้อยละ 50 ร้อยละ 75 โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม ลูกอมและควบคุมขนมกรุบกรอบ เครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของน้ำตาล และจัดกิจกรรมฝึกทักษะการแปรงฟันนักเรียน จำนวนการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ลดลงตามเกณฑ์ในแต่ละพื้นที่เสี่ยง เสี่ยงมาก ร้อยละ 20 เสี่ยงปานกลาง ร้อยละ 10 เสี่ยงน้อย อย่างน้อยปีละ 1 คน

การดำเนินงานสนับสนุนของกรมต่างๆ 1) National Lead (งปม. 29.78 ล้าน) การขับเคลื่อนโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โดยความร่วมมือ ของ partnership ระหว่าง กระทรวง ศธ กับ สธ และ ภาคส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้อง 2) Model Development (งปม. 30.95 ล้าน) -มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพตามแนวทางบูรณาการ -พัฒนาเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตของเด็กวัยเรียน -พัฒนาต้นแบบ จากThe Best /แก้ปัญหาให้พื้นที่ -การพัฒนาและ R&D 3) Technology Transfer (งปม. 34.29 ล้าน) หลักสูตร/คู่มือการดำเนินงานสำหรับบุคลากร วิทยากรในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ /ถอดบทเรียน 4) M&E, Problem Solving, Evaluation (งปม. 4.0 ล้าน) นิเทศ ติดตาม ประเมินผลเชิงคุณภาพ /QAโดย สมศ 5) Surveillance (งปม. 3.38 ล้าน) พัฒนาระบบเฝ้าระวังร่วมกับเขตบริการสุขภาพ พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และทิศทางการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มวัยเรียน ร.ร.ลีการ์เด้น พลาซ่า จ.สงขลา 28 ส.ค. 57

ขอบคุณและสวัสดีค่ะ