การใช้ MRCF เพื่อพัฒนาศูนย์ข้าวชุมชน ตำบลบางกะไห นางสาวยุวดี ฮวดวิเศษ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
ระบบการปฏิบัติงานของสำนักงานเกษตรอำเภอ Smart Office
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
บทบาทหน้าที่ผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
สวัสดีครับ.
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
แผนที่ตำบลหนองไฮ อำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอำนาจเจริญ
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก
กลุ่มที่ 1.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
M R C F LONGAN (PILOT PROJECT)
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๑ จังหวัดชัยนาท
ระบบส่งเสริมการเกษตร
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ สำหรับสินค้าเกษตรที่สำคัญ (Zoning)
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
สภาพทั่วไป จังหวัดพิจิตร อ.ชุมแสง อ.ท่าตะโก อ.ไพศาลี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ตำบลคำไฮใหญ่ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี
ผู้ช่วยเลขา สามารถจัดตั้งกองทุนพัฒนา อาชีพการเกษตร เพื่อช่วยเหลือ เกษตรกรเป็น แบ่งการบริหาร ลงในกลุ่มรับผิดชอบทั้งหมด 5 กลุ่ม คือ 1. กองทุนพันธุ์สัตว์
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
กลุ่มที่ 4.
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ เพื่อสำรวจข้อมูลผลผลิตเมล็ดพันธุ์ของศูนย์ข้าวชุมชน ในปีการผลิต 2554/2555 เพื่อใช้เป็นข้อมูลแหล่งเมล็ดพันธุ์ข้าวในการสนับสนุนมาตรการเยี่ยวยาชาวนาหลังน้ำลด.
การใช้ประโยชน์ที่ดินด้านการเกษตรกรรม จังหวัดปทุมธานี
MRCF การเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง โดยการไถระเบิดดินดาน
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
ผลการดำเนินงานตามระบบ MRCF อำเภอบึงนารางจังหวัดพิจิตร ปี 2557 การพัฒนาตามนโยบายและ แนวทางการส่งเสริมการเกษตร MRCF ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของสำนักงานเกษตรอำเภอบึงนาราง.
อำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี
ทิศเหนือติดต่อกับ ตำบลพิตเพียน อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศใต้ติดต่อกับตำบลเจ้าปลุก อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศตะวันออกติดต่อกับอำเภอดอนพุด.
เทศบาลตำบลวังทรายพูน อำเภอวังทรายพูน จังหวัดพิจิตร
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้ MRCF เพื่อพัฒนาศูนย์ข้าวชุมชน ตำบลบางกะไห นางสาวยุวดี ฮวดวิเศษ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ

ข้อมูลด้านกายภาพตำบลบางกะไห ที่ตั้งและอาณาเขต ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลโสธร อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา ทิศใต้ ติดต่อกับตำบลเทพราช อำเภอบ้านโพธิ์ ทิศตะวันออกติดต่อกับตำบลบางพระ อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา ทิศตะวันตก ติดต่อกับตำบลบางเตย อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา

ข้อมูลด้านการเกษตร

Mapping การนำเอาข้อมูลแผนที่และใช้แผนที่ มาเป็นข้อมูลพื้นฐานในการจัดการข้อมูลในระดับพื้นที่ เพื่อนำไปสู่การกำหนดเป้าหมายของการทำงาน และวางแผนการพัฒนา รวมทั้งวางแผนการแก้ไขปัญหา

ศูนย์ข้าวชุมชนตำบลบางกะไห

ชุดดินตำบลบางกะไห

การใช้น้ำ ใช้น้ำชลประทาน ใช้น้ำจากคลองหนองขอน

การชี้เขตพื้นที่การเกษตรของเกษตรกรผู้ที่เข้าร่วมโครงการของรัฐบาล ที่ต้องการให้มีข้อมูลที่ชัดเจน สามารถตรวจสอบได้ว่ามีพื้นที่จริง

Remote Sensing การนำเอา ข้อมูลและการสื่อสารระยะไกล เข้ามาใช้สำหรับการประสานและการให้บริการเกษตรกรโดยนักส่งเสริมการเกษตรและ เกษตรกรสามารถเข้าถึงข้อมูลหรือติดต่อสื่อสารได้อย่างรวดเร็ว โดยขณะนี้มีช่องการสื่อสารหลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์ หรือสื่อต่าง ๆ ที่กำลังเป็นที่นิยม ก็สามารถนำมาเพิ่มช่องทางการสื่อสารระหว่างเกษตรกรและนักส่งเสริมการเกษตร ได้เช่นกัน ทั้งนี้ก็เพื่อความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างทันท่วงที และประหยัดเวลารวมทั้งสามารถสื่อสารข้อมูลให้กับกลุ่มเป้าหมายได้อย่างรวด

ศูนย์ข้าวชุมชนตำบลบางกะไห (ด้านด้านติดต่อสื่อสาร) ทางโทรศัพท์มือถือ ทาง Line ทาง Facebook

Community Participation การทำงานแบบมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่าย ข้อนี้เป็นการนำเอาการทำงานแบบบูรณาการของหน่วยงานต่าง ๆ ในพื้นที่มาช่วยในการพัฒนาและส่งเสริมกลุ่มเป้าหมายของนักส่งเสริมการเกษตร...ซึ่งจะเน้นให้มีส่วนร่วมในการ"รับรู้ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมลงมือปฏิบัติ ร่วมประเมินผล และร่วมรับผลประโยชน์"ซึ่งผลที่ได้ก็คือการได้รับประโยชน์ร่วมกันหรือ win win situation

หน่วยงานภาคีที่ทำงานร่วมกับศูนย์ข้าวชุมชน สำนักงานเกษตรจังหวัด กรมการข้าว องค์การบริหารส่วนตำบลบางกะไห โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลบางกะไห

การทำงานร่วมกับหน่วยงานภาคี

Speccific Field Service การให้บริการทางการเกษตรแบบเฉพาะเจาะจง มีเป้าหมายชัดเจน ถือเป็นข้อที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งที่ต้องการให้นักส่งเสริมการเกษตรเข้า พื้นที่อย่างมีเป้าหมาย เพื่อให้การส่งเสริมมีประสิทธิภาพ

ศูนย์ข้าวชุมชนตำบลบางกะไห หมู่ที่ 5 ตำบลบางกะไห อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา มีสมาชิกทั้งหมด 40 ราย สมาชิกที่ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวมีจำนวน 10 ราย เนื้อที่ 150 ไร่ ปี 2558 เป้าหมายคือสมาชิก 20 ราย เนื้อที่ 300 ไร่ ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวไว้ใช้เองและสามารถจำหน่ายให้แก่สมาชิกทุกรายและตำบลใกล้เคียงในปี 2558