ความเป็นครู.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
Advertisements

ประชุมบุคลากรประจำปีการศึกษา 2551
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
บทบาทและหน้าที่ของนักคอมพิวเตอร์
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
กิจการนิสิต (Student Affairs)
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
การส่งเสริมจรรยาบรรณ ในระดับคณะ/หน่วยงาน
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
บทบาทหน้าที่ของ อาจารย์ที่ปรึกษา
ความเห็นจากครูแพทย์ (เก่า) คนหนึ่ง
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
บุคลิก 9 ประการ ที่ควรพัฒนา
จรรยาบรรณวิชาชีพ.
มาตรฐานวิชาชีพครู.
The Teacher by Thai Ideal
บทบาทของโรงเรียนต่อชุมชน
วิชาชีพครูไทยในปัจจุบันและอนาคต
ความเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อการศึกษาและวิชาชีพครู ในปัจจุบันและอนาคต
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
การจัดการศึกษาในชุมชน
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ทักษะการใช้กิริยาท่าทาง และบุคลิกการเป็นครู
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
นายกิติศักดิ์ สินธุวนิช รองเลขาธิการฯ 30 มิถุนายน 2549
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ปฏิรูปเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาประเทศไทย
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของ ผู้ตรวจราชการและหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ สุรศักดิ์ แสงอร่าม รองเลขาธิการ ส.ป.ก. 21 ต.ค
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
ความรับผิดชอบ ในวิชาชีพ
จรรยาบรรณครู จรรยาบรรณข้อที่ 1 ครูต้องรักและเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลือส่งเสริมให้ กำลังใจใน การศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า จรรยาบรรณข้อที่
งานกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การประเมินผล เน้นการนำไปใช้ ให้นักเรียนสามารถ Apply สิ่งที่เรียนไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
สมรรถนะการทำงาน ดร. จักรพงศ์ สุวรรณรัศมี.
My school.
รศ.ดร.จุไรรัตน์ ดวงเดือน รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
หมายเหตุ : หน้าแรกแล้วแต่ท่านจะออกแบบนะครับ
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
ทักษะการใช้กิริยาท่าทางและบุคลิกการเป็นครู
บุคลิกภาพบุคลากรการทะเบียน ที่พึงประสงค์ ในการให้บริการประชาชน
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
การศึกษาเจตคติต่อวิชาการเลขานุการ
มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
1 ครูได้รับการพัฒนาความรู้และสมรรถนะผ่านการปฏิบัติจริง และความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
การประกวดแข่งขันผลงานวิจัย และนวัตกรรมสื่อสารสอนทางอาชีวศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
อุดมการณ์ และจิตวิญญาณ ของความเป็นครู.
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความเป็นครู

อาชีพครูเป็นวิชาชีพชั้นสูง ต้องมีการคัดกรอง คัดเลือกคนที่มีคุณสมบัติหรือลักษณะเฉพาะ ครูต้องเก่ง จึงจะสร้างลูกศิษย์ที่เก่งได้ ครูต้องดี จึงจะสร้างลูกศิษย์ที่ดีได้

ครู ครุ(หนัก) คุรุ =Guru

ความหมายของครู 1.ครู คือ.......................................................... 2.ครู คือ......................................................... 3.ครู คือ.........................................................

ความหมาย 1.ครู คือผู้สั่งสอนศิษย์ ผู้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ศิษย์ 2.ครู คือบุคลากรวิชาชีพทำหน้าที่หลักในการเรียนการสอนและส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยวิธีการต่างๆในสถานศึกษา Teacher(ชำนาญ ชำนาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ) Instructor Lecturer-Assistant –Associate- Professor Tutor

ความสำคัญของครู 1.พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สร้างเยาวชน 2.รักษาความเป็นชาติ ขนบธรรมเนียม ประเพณี ค่านิยม คุณธรรม ภูมิปัญญา 3.ที่พึ่งของสังคม

สมรรถนะครู 1.ด้านสติปัญญา(Cognitive Competencies) ฉลาด มีความรู้ในเนื้อหาวิชา วิธีการสอน หลักสูตร 2.ด้านทักษะ(Performance Competencies) ศิลปะและเทคนิคการสอน การใช้สื่อ

สมรรถนะครู(ต่อ) 3.ด้านผลการสอน(Product competencies) การวัดและการประเมินผลสัมฤทธิ์ 4.ด้านการศึกษาค้นคว้า(Exploration Competencies) การพัฒนาแสวงหาความรู้ 5.ด้านอารมณ์ความรู้สึก(Affective Competencies) ทัศนคติ ค่านิยม การเห็นคุณค่าในวิชาชีพครู

คุณสมบัติพื้นฐานของครู 1.มีความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาการ 2.ติดตามความก้าวหน้าในวิทยาการ 3.เป็นแบบอย่างที่ดี 4.มีจิตวิทยา

คุณสมบัติพื้นฐานของครู(ต่อ) 5.มีทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศ 6.รู้ภาษาอังกฤษ 7.รักการเรียนรู้

เอกลักษณ์ครู 1.อดทน 2.รับผิดชอบ 3.เอาใจใส่ศิษย์ 4.ใฝ่หาความรู้ 5.มีทักษะและศิลปะการอบรมสั่งสอน

เอกลักษณ์ครู(ต่อ) 6.ขยันหมั่นเพียร 7.ยุติธรรม 8.ดำรงตนเหมาะสม 9.มีวัฒนธรรมและศีลธรรม 10.สุภาพเรียบร้อย ประพฤติดี เป็นแบบอย่าง

ลักษณะครูดี 1.คุณลักษณะส่วนบุคคล 2.คุณลักษณะด้านวิชาชีพ 3.คุณลักษณะทางสังคม

คุณลักษณะส่วนบุคคล 1.ประพฤติดี 2.ใฝ่รู้ 3.สุขภาพดี(สุขภาพกาย-สุขภาพจิต) 4.บุคลิกดี

คุณลักษณะส่วนบุคคล(ต่อ) 5.ตรงต่อเวลา 6.มีเจตคติเชิงบวกต่อศิษย์ 7.ความสามารถในการพูด หรือถ่ายทอด

คุณลักษณะด้านวิชาการ 1.รอบรู้ 2.รู้ในเนื้อหาวิชา 3.รู้ในศาสตร์การสอน 4.มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 5.มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพครู

คุณลักษณะด้านวิชาการ(ต่อ) 6.รักความก้าวหน้า ปรับปรุงเปลี่ยนตลอดเวลา 7.เข้าใจศิษย์ 8.สนับสนุนส่งเสริมให้ศิษย์สนใจ อยากรู้อยากเรียน แสวงหาความรู้ด้วยตัวเอง

คุณลักษณะทางสังคม มีสัมพันธภาพที่ดีต่อศิษย์ เพื่อนร่วมงาน ผู้ปกครอง ชุมชน

ลักษณะครูที่ดีตามเกณฑ์มาตรฐานคุรุสภา 1.รอบรู้ 2.สอนดี 3.มีคุณธรรมและจรรยาบรรณ 4.มุ่งมั่นพัฒนา มี 3 ภูมิ ภูมิรู้ ภูมิธรรม ภูมิฐาน

บุคลิกภาพครู 1.บุคลิกภาพทางกาย 2.บุคลิกภาพทางอารมณ์ 3.บุคลิกภาพทางสังคม 4.บุคลิกภาพทางสติปัญญา

จรรยาบรรณครู(ตามระเบียบคุรุสภา) 9 ข้อ 1.ต้องรักและเมตตาศิษย์ ใส่ใจ ช่วยเหลือ เสริมกำลังใจแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า 2.ต้องอบรม สั่งสอน ฝึกฝน สร้างเสริมความรู้ ทักษะ นิสัยที่ถูกต้องดีงามอย่างเต็มความสามารถและบริสุทธิ์ใจ 3.ต้องประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์

จรรยาบรรณครู(ตามระเบียบคุรุสภา) 4.ต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทั้งทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคมของศิษย์ 5.ต้องไม่แสวงหาประโยชน์อันเป็นอามิสสินจ้างจากศิษย์ 6.ย่อมพัฒนาตนเองทั้งด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ให้ทันพัฒนาการทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง

จรรยาบรรณครู(ตามระเบียบคุรุสภา) 7.ย่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครู 8.พึงช่วยเหลือเกื้อกูลครูและชุมชนในทางสร้างสรรค์ 9.พึงประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นผู้นำในการอนุรักษ์และพัฒนาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย

ความสำคัญ -ต้อง -พึง 1.จรรยาบรรณต่อตนเอง ข้อ...... 2.จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ ข้อ.......... 3.จรรยาบรรณต่อศิษย์ ข้อ.......................................... 4.จรรยาบรรณต่อผู้เพื่อร่วมวิชาชีพ ข้อ......................... 5.จรรยาบรรณต่อสังคม ข้อ.......................................... ความสำคัญ -ต้อง -พึง