วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
Advertisements

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นาย ภัทราวุธ พิชาชญชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ABAT วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
นางฐานิตา ทองศิริ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาววาสนา เก่าพิมาย

นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผลของการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์และความสนใจในการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 โรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
ผลงานวิจัย โดย อ. หัสยา วงค์วัน
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
***นำเสนอผลงานวิจัย***
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย.
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เวอร์เนียร์ไฮเกจ ร่างแบบชิ้นงานโดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ ของนักเรียนช่างไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง ชั้นปีที่
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้เกมส์เป็นสื่อในกระบวนการจัดการเรียนการสอน ในรายวิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ นางสินีนาถ ศรีพงษ์คำ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่

ปัญหาการวิจัย วัตถุประสงค์ จากการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ที่ผ่านมา พบว่า นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตกต่ำลงกว่าเดิม จากการประเมินผลนักศึกษา พบว่า นักศึกษามีทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการเรียนรู้ต่ำ โดยเฉพาะทักษะด้านการคิดคำนวณ จากการสอบถามนักศึกษา พบว่านักศึกษามีความเห็นเกี่ยวกับวิชาคณิตศาสตร์ว่า เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ค่อนข้างเป็นนามธรรม ทำให้ผู้เรียนส่วนใหญ่ไม่เข้าใจในกระบวนการคิดเพื่อหาคำตอบ ดังนั้น ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ โดยการใช้เกมส์เข้ามาเป็นสื่อในกระบวนการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น และเป็นแนวทางในการปรับปรุงเทคนิคการสอนเนื้อหาต่อ ๆ ไป เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาโดยใช้เกมส์เป็นสื่อในกระบวนการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการใช้เกมส์ประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ระดับชั้น ปวช.2/2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ที่เรียนรายวิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 23 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยก่อนและหลังการวิจัย แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการใช้เกมส์เป็นสื่อการเรียนการสอน บัตรคำ และที่เสียบบัตรคำ พร้อมโจทย์เลขโรมัน

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล กำหนดระยะเวลาในการทำวิจัย สัปดาห์ที่ 5 – 7 ระหว่างวันที่ 1 – 19 กรกฎาคม 2556 สัปดาห์ที่ 4 สร้างเครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบสอบถามความพึงพอใจ พร้อมบัตรคำ ที่เสียบบัตรคำ และโจทย์เลขโรมัน สัปดาห์ที่ 5 ครูสอนให้รู้จักสัญลักษณ์ของเลขโรมันทั้งหมด และสอนขั้นตอนการเขียนเลขโรมันให้ถูกต้องตามหลักการเขียนบนกระดาน แล้วให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด ครูตรวจสอบความเข้าใจ จากนั้นให้นักศึกษาทำแบบทดสอบแบบอัตนัย (Pretest) บันทึกคะแนนเก็บไว้ สัปดาห์ที่ 6 ครูใช้เกมส์ประกอบการเรียนการสอน โดยให้นักศึกษาจับคู่ระหว่างคนเก่งกับคนอ่อน แข่งขันกันครั้งละ 2 คู่ จำนวน 10 คำ ครูบอกโจทย์เลขโรมันทีละจำนวนแล้วให้นักศึกษาช่วยกันเรียงบัตรคำให้ถูกต้องและเร็วที่สุด ผู้ชนะ 6 ใน 10 จำนวน เข้ารอบรอชิงชนะเลิศต่อไป นำผู้เข้ารอบมาแข่งขันในลักษณะเดียวกัน จนกว่าจะได้ผู้ชนะเลิศ ในขณะทำกิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษาควบคู่ไปกับการสอนและบันทึกลงในแบบบันทึกพฤติกรรมของนักศึกษาด้วย หลังจากจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเสร็จสิ้นแล้ว ครูประเมินความเข้าใจของนักศึกษาเป็นรายบุคคล โดยการให้นักศึกษาทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย (Postest) บันทึกคะแนนเก็บไว้ หลังจากประเมินความเข้าใจของนักศึกษาโดยการทำแบบทดสอบแล้ว ให้นักศึกษาประเมินการสอนของครูโดยให้นักศึกษาตอบแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้เกมส์ประกอบการเรียนการสอนแบบประมาณค่า 5 ระดับ สัปดาห์ที่ 7 นำผลการทดสอบทั้งก่อนและหลังการทำวิจัยมาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนว่ามีการพัฒนาดีขึ้นว่าเดิมหรือไม่ นำแบบสอบถามมาวิเคราะห์และสรุปผลความพึงพอใจของนักศึกษา

การวิเคราะห์ข้อมูล ส่วนที่ 1 วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบ 2 ครั้ง โดยใช้การทดสอบ แบบ T – Test เปรียบเทียบผลคะแนนว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่ ที่ระดับนัยสำคัญที่กำหนด ส่วนที่ 2 วิเคราะห์และสรุปผลแบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการใช้เกมส์ประกอบการเรียนการสอนโดยใช้โปรแกรม SPSS for window

สรุปผลการวิจัย ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของประชากรที่ใช้ศึกษาครั้งนี้เป็นนักศึกษาระดับ ปวช.2/2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ที่เรียนรายวิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้เกมคณิตศาสตร์ก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญ .01 แสดงให้เห็นว่า การจัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้เกมสามารถช่วยให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาสูงขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ อุษณีย์ บุญเรืองนาม (2555) ซึ่งได้ศึกษาเรื่องการพัฒนาเกมคณิตศาสตร์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ เรื่องการบวกและการลบ ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ผลการศึกษาพบว่า ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 33.33 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ มีความแตกต่างไม่น้อยกว่า ร้อยละ 25 และ เพ็ญพร สระทอง (2550) ที่ได้ศึกษาเรื่องการใช้เกมเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ผลการวิจัยพบว่าหลังการใช้เกมเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ การบวก การลบ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ มีคะแนนสูงขึ้นร้อยละ 72.72 และพฤติกรรมของนักเรียนที่แสดงออกขณะเรียนโดยใช้เกมเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ได้แก่ ให้ความร่วมมือและสามารถทำกิจกรรมได้อย่างมีความสุขและสนุกสนาน ยอมรับกติกาการเล่น สามารถตอบคำถามได้ตรงประเด็นและซักถามเมื่อมีข้อสงสัย

สรุปผลการวิจัย ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 2 จากแบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการใช้เกมประกอบการเรียน การสอน ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษามีส่วนร่วมในกิจกรรมมากขึ้น ได้ฝึกฝนทักษะในการ คิดคำนวณมากขึ้น ทำให้นักศึกษาทราบขั้นตอนการเขียนเลขโรมันมากขึ้น เกมมีความเหมาะสม กับเนื้อหา ทำให้นักศึกษาทราบถึงสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเลขโรมันมากขึ้น นักศึกษารู้สึกสนุกสนานไม่เครียด รวมทั้งให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนได้มากขึ้น สอดคล้องกับงานวิจัยของไพโรจน์ เบขุนทด (2544 : บทคัดย่อ) ทำการศึกษาผลการเรียนแบบร่วมมือ 3 วิธีที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนคณิตศาสตร์และความร่วมมือในการทำงานกลุ่มเกมการแข่งขันของนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 2 ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่เรียนแบบกลุ่มเกมการแข่งขันมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ซึ่งสรุปได้ว่า การสอนโดยใช้กิจกรรมแบบกลุ่มเกมการแข่งขันให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงกว่าแบบปกติ และนักเรียนมีปฎิสัมพันธ์ต่อกันมากกว่านักเรียนที่ได้รับการสอนแบบปกติ แสดงว่าเป็นการสอนที่มุ่งเน้นเนื้อหาสาระและสร้างเสริมปฎิสัมพันธ์ที่ดีต่อกันในห้องเรียน ก่อให้เกิดบรรยากาศที่ดีในการเรียน ทำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้น ดังนั้น กิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นนั้น เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติจริง

ภาพประกอบ ตารางการวิเคราะห์ข้อมูล

ภาพประกอบ ตารางการวิเคราะห์ข้อมูล