การส่งเสริมเศรษฐกิจการค้า 5 จชต. ของกระทรวงพาณิชย์ การส่งเสริมเศรษฐกิจการค้า 5 จชต. ของกระทรวงพาณิชย์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงพาณิชย์ กฤษฎา เปี่ยมพงศ์สานต์ x
นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลที่จะเร่งดำเนินการในปีแรก ๑.๒ แก้ไขปัญหาความไม่สงบใน จชต. โดยน้อมนำแนวทางพระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” มาดำเนินการในด้านความมั่นคงและด้านการพัฒนา โดยให้มีความสอดคล้องกับลักษณะเฉพาะของพื้นที่ วิถีชีวิต วัฒนาธรรม และความ แนวทางในการดำเนินงานความร่วมมือ ทางด้านวิชาการ มุ่งเน้นในเรื่องต่างๆ คือ การเสริมสร้างความสัมพันธ์กับต่างประเทศเพื่อให้เกิดผลประโยชน์ร่วมกัน การผลักดันให้ไทยเป็นศูนย์กลางทางวิชาการของภูมิภาค การมุ่งในการใช้ความร่วมมือเพื่อช่วยขจัดความยากจนในประเทศต่างๆ การส่งเสริมความร่วมมือแบบหุ้นส่วนกับประเทศผู้ให้รายสำคัญ การส่งเสริมให้ภาคเอกชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานความร่วมมือ ขยายบทบาทของประเทศไทยในเวทีโลกให้กว้างขวาง เชื่อของประชาชน ตลอดทั้งอำนวยความเป็นธรรมและความยุติธรรมโดยเน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อย ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน สร้างความสมานฉันท์และสันติสุขในพื้นที่โดยเร็วที่สุด x
เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จชต. สภาพการพัฒนาล้าหลัง ไม่ทัดเทียมภูมิภาคอื่น ประเทศเพื่อนบ้าน มติ ครม. ๒๘ พย. ๒๕๔๙ กำหนดให้พื้นทีจังหวัดยะลา นราธิวาส ปัตตานี สตูล และ 4 อำเภอของจังหวัดสงขลา (อำเภอเทพา สะบ้าย้อย นาทวี และจะนะ) เป็นเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ มีกลไก กพต.(คณะกรรมการเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้) เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อน ในลักษณะ Eastern Sea Board ภารกิจสำคัญของ สพร. คือ การประสานกับส่วนราชการต่างๆ ในการให้ความร่วมมือทางวิชาการแก่ประเทศกำลังพัฒนาต่างๆ การดำเนินงานในแบบหุ้นส่วนกับแหล่งผู้ให้ที่สำคัญในรูปแบบไตรภาคีทั้งในระดับทวิภาคี และพหุภาคี การส่งเสริมในด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การอำนวยสิทธิพิเศษและพัสดุ เพื่อให้โครงการดำเนินการไปได้อย่างราบรื่น x
องค์ประกอบ กพต. ประธาน นายกรัฐมนตรี รองประธาน รมว.มหาดไทย ประธาน นายกรัฐมนตรี รองประธาน รมว.มหาดไทย กรรมการ ปลัดกระทรวงพาณิชย์ เลขานุการ ผอ.ศอ.บต. หน้าที่ : กำกับ เร่งรัด และอำนวยการดำเนินการพัฒนาในเขตพัฒนาพิเศษฯ ให้เป็นไปตามนโยบายของรัฐบาล พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนพัฒนา แผนงาน โครงการ และการจัดตั้งงบประมาณของส่วนราชการในเขตพัฒนาพิเศษฯ ประเทศที่ไทยให้ความสำคัญสูงในการให้ความร่วมมือทางด้านวิชาการ คือ ประเทศเพื่อนบ้านของไทย ได้แก่ สปป. ลาว กัมพูชา พม่า และเวียดนาม สำหรับเวียดนามจะเป็นความร่วมมือในลักษณะของความเป็นหุ้นส่วนมากกว่าการเป็นประเทศผู้รับ สำหรับประเทศอื่นนอกเหนือจากประเทศเพื่อนบ้านก็จะมีการพิจารณาตามความเหมะสมทั้งในประเด็นเชื่อมโยงทางด้านเศรษฐกิจ การค้า และการขยายความสัมพันธ์ การส่งเสริมในด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การอำนวยสิทธิพิเศษและพัสดุ เพื่อให้โครงการดำเนินการไปได้อย่างราบรื่น x
ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การคุ้มครองความปลอดภัย การอำนวยความเป็นธรรมเพื่อเสริมสร้างความเชื่อมั่นในอำนาจรัฐ และสร้างภูมิคุ้มกันแก่คนกลุ่มเสี่ยง) ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การแก้ไขปัญหาความยากจนและเสริมสร้างความมั่นคงทางอาชีพและรายได้ในการพึ่งพาตนเอง ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การพัฒนาคุณภาพคนเพื่อสร้างโอกาสการมีงานทำและยกระดับคุณภาพชีวิต ยุทธศาสตร์ที่ 4 : เสริมสร้างความเข้มแข็งฐานเศรษฐกิจของพื้นที่และการพัฒนาความร่วมมือกับต่างประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 5 : การบริหารจัดการเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ กิจกรรมภายใต้ภารกิจหลักของ สพร. ประกอบด้วยโครงการเพื่อการพัฒนา การให้ทุนการศึกษา/ฝึกอบรม/ดูงานในประเทศไทย การให้วัสดุอุปกรณ์ การจัดส่งผู้เชี่ยวชาญไปถ่ายทอดความรู้/เทคโนโลยีในประเทศคู่ร่วมมือ และการส่งผู้แทนไปร่วมการประชุมความร่วมมือระหว่างประเทศ โดยจะดำเนินการในรูปแบบความร่วมมือต่างๆ ดังต่อไปนี้ 6.1 โครงการความร่วมมือแบบทวิภาคี (Bilateral Programme) เป็นการให้ความร่วมมือระหว่างสองรัฐบาล ซึ่งไทยให้ความร่วมมือแก่ประเทศกำลังพัฒนาทั้งในรูปโครงการและนอกโครงการ ความร่วมมือในโครงการประกอบด้วยการให้งบประมาณสำหรับการก่อสร้าง ผู้เชี่ยวชาญ วัสดุอุปกรณ์ การให้ทุนการศึกษา ฝึกอบรม/ดูงาน สำหรับความร่วมมือนอกโครงการ ส่วนใหญ่เป็นการให้ทุนศึกษาฝึกอบรมและดูงาน อันเป็นผลจากการประชุมความร่วมมือทางวิชาการประจำปี การประชุมคณะกรรมธิการร่วม (JC) และข้อตกลงทวิภาคีระหว่างกัน เป็นต้น 6.2 โครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศกำลังพัฒนา (Technical Cooperation among Developing Countries Programme – TCDC) เป็นกิจกรรมแลกเปลี่ยนความร่วมมือทางวิชาการภายใต้กรอบขององค์การสหประชาชาติ ในรูปของการแลกเปลี่ยนคณะเจ้าหน้าที่เพื่อการฝึกอบรม/ดูงาน และแลกเปลี่ยนผู้เชี่ยวชาญระหว่างประเทศกำลังพัฒนาด้วยกัน โดยมีข้อตกลงร่วมกันว่าประเทศที่ขอหรือส่งเจ้าหน้าที่จะรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการเดินทางระหว่างประเทศ (International Cost) ในขณะที่ประเทศเจ้าภาพจะรับผิดชอบค่าใช้จ่ายภายในประเทศ (Local Cost) 6.3 การจัดหลักสูตรฝึกอบรมให้แก่ประเทศที่สาม (Third Country Training Programme - TCTP) สพร. ให้ความร่วมมือกับรัฐบาลต่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ เช่น UNDP WHO ILO เป็นต้น ในการจัดรายการฝึกอบรมให้แก่ผู้รับทุนจากประเทศต่างๆ มาศึกษา ฝึกอบรม และดูงาน ในประเทศไทย โดยแหล่งผู้ให้ (Donors) เป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายทั้งหมด 6.4 โครงการหลักสูตรฝึกอบรมนานาชาติประจำปี (Annual International Training Courses Programme – AITC) เป็นความร่วมมือระหว่าง สพร. กับหน่วยงานและสถาบันการศึกษาของไทยใน การจัดหลักสูตรฝึกอบรมนานาชาติประจำปี ซึ่งไทยจะแจ้งเวียนหลักสูตรไปยังประเทศกำลังพัฒนาต่างๆ ประมาณ 80 ประเทศทั่วโลกผ่านทาง สอท. หรือ สกญ. ณ ประเทศนั้น 6.5 การจัดหลักสูตรศึกษาหลังปริญญาตรีนานาชาติ (Thai International Postgraduate Programme - TIPP) ซึ่งรัฐบาลไทย โดย สพร. ให้ทุนแก่เจ้าหน้าที่ต่างประเทศเพื่อมาศึกษาระดับปริญญาโทหลักสูตรนานาชาติในสถาบันการศึกษาของไทย โดยรัฐบาลไทยเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายทั้งหมด ในระยะแรกให้ทุนแก่ประเทศเพื่อนบ้านเป็นหลัก และในปี พ.ศ. 2545 เริ่มให้ทุนแก่กลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียใต้เพิ่มขึ้น 6.6 การดำเนินงานอาสาสมัครเพื่อนไทย (Friend from Thailand) เป็นการขยายความร่วมมือในอีกรูปแบบหนึ่งโดยจัดส่งอาสาสมัครไทยไปปฏิบัติงานในประเทศกำลังพัฒนาๆ โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศเพื่อนบ้านในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง โดยมุ่งหวังที่จะเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีในระดับประชาชน ในระยะเริ่มแรกเป็นการปฏิบัติงานด้านการสอนภาษาไทย ทั้งนี้ ในอนาคตต่อไปจะขยายสู่สาขาที่เป็นที่ต้องการของประเทศคู่ร่วมมือให้มากยิ่งขึ้น เช่นการพัฒนาชุมชน และคอมพิวเตอร์ เป็นต้น x
แผนงานของกระทรวงพาณิชย์ ในปี 2551 แผนการส่งเสริมช่องทางการตลาดภายในประเทศและต่างประเทศ แผนการพัฒนาผู้ประกอบการและสร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้าและบริการ แผนการคุ้มครองผู้บริโภคและบรรเทาค่าครองชีพ รวม 3 แผนงาน งปม. 15 ล้านบาท x
แผนงานของกระทรวงพาณิชย์ ในปี 2552 ปี 2552 กระทรวงฯ ได้จัดทำของบประมาณในการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจการค้า 5 จชต. ภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ งบประมาณ 80.040 ล้านบาท (สป. 3.78 ลบ./สอ. 25.62 ลบ./พค. 5 ลบ./ ทป.0.6 ลบ./คน. 34.04 ลบ./สพจ.5 จชต. 15 ลบ.) x