เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
โดย นายนิตย์ ทองเพชรศรี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพ ระดับอำเภอ/ตำบล มุ่งสู่ คปสอ./รพ.สต.ติดดาว
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
กลุ่มตัวชี้วัด : ๑) จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ ๕๐
นโยบายการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
25/07/2006.
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การสร้างแผนงาน/โครงการ
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กลไกการสนับสนุนการ ดำเนินงาน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ตำบล และ การพัฒนาระบบรับ - ส่งต่อแบบ บูรณาการ 2552.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
ผลการดำเนินงาน แม่บ้านสาธารณสุข
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
นโยบายการขับเคลื่อนงานสาธารณสุข อำเภอเมืองยโสธร ปีงบประมาณ ๒๕๕๘
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิและปฐมภูมิ
ผลลัพธ์ปี 2556 สำหรับทีมงานdhs
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
FCT คปสอ./รพ.สต.ติดดาว ปี ๒๕๕๘ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๗.
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) จังหวัดเพชรบุรี ปี 2558
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชน และท้องถิ่น อย่างมีคุณภาพ เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

คุณภาพ คือ 1. มีระบบสุขภาพที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่น ตามองค์ประกอบ UCARE และมีผลลัพธ์การพัฒนาที่สามารถยกระดับขึ้นหนึ่งระดับ ทุกข้อ หรือตั้งแต่ระดับสามขึ้นไปทุกข้อ ตามแนวทางการพัฒนา DHS – PCA 2. มีการบูรณาการ แผนการจัดการใน 5 กลุ่มวัย และแผนที่เชื่อมโยงกับการพัฒนาระบบบริการ (Service Plan) ในบริบทของการบริการระดับปฐมภูมิ 3. มีการจัดการให้มีการดูแลสุขภาพร่วมกัน เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการ ทั้ง Acute & Chronic care ไม่น้อยกว่า 3 เรื่อง ( essential care เช่น อุบัติเหตุฉุกเฉินและส่งต่อ การเยี่ยมบ้าน Home care & LTC บริการแพทย์แผนไทย สุขภาพจิตชุมชน การฟื้นฟูสุขภาพ ส่งเสริมสุขภาพช่องปาก เป็นต้น)

คุณภาพ คือ มีการดำเนินการให้มีทีมหมอครอบครัว เพื่อดูแลผู้สูงอายุที่ติดเตียง ผู้พิการที่ต้องได้รับการดูแล และผู้ป่วย palliative care 5. มีระบบบริหารจัดการ การแก้ปัญหาสุขภาพระดับพื้นที่ โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

มาตรการในการดำเนินการ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการระดับจังหวัด/อำเภอ และมีการประชุม วางแผนยุทธศาสตร์/ แผนปฏิบัติการ 2. สนับสนุนงบประมาณและพัฒนากลไกในการติดตามประเมินผล มีการประเมินตนเอง / External Audit 4. มีการดำเนินการให้มีทีมหมอครอบครัว เพื่อดูแลผู้สูงอายุที่ติดเตียง ผู้พิการที่ต้องได้รับการดูแล และผู้ป่วย palliative care 5. มีการคัดเลือกปัญหาสุขภาพที่ตอบสนองต่อปัญหาของประชาชนในพื้นที่ มาดำเนินการแก้ไข อย่างน้อย อำเภอละ 3 เรื่อง

มาตรการในการดำเนินการ (ต่อ) 6. มีระบบการสนับสนุนและพัฒนา DHS ตามองค์ประกอบ UCARE โดยใช้แนวทาง DHS - PCA 7. มีการประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจเพื่อสนับสนุนการพัฒนาตาม Essential care 8. มีรายงานการติดตาม การดำเนินการ DHA-PCA และ Family Care Team 9. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับจังหวัด / เขต 10. มี Good Practice (อำเภอ/ตำบลตัวอย่าง) ที่สามารถบอกได้ว่าประชาชนได้รับการดูแล หรือมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างไร