ร่าง แผนยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขของประเทศไทย เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน วันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๔ 1
ปรัชญา สุขภาพไทย สุขภาพอาเซียน [Health for Thais & Health for ASEAN] [Healthy Thais, Healthy ASEAN] 2
วิสัยทัศน์ ประเทศไทยมีความพร้อมและบทบาทนำ ด้านการพัฒนาสุขภาพในภูมิภาคอาเซียน 3
พันธกิจ สนับสนุนและพัฒนาศักยภาพหน่วยงานและบุคลากรทาง สุขภาพของประเทศ ปรับปรุงโครงสร้าง กฎหมาย และพัฒนากลไก ระบบงานให้เอื้อ ต่อการดำเนินงานเพื่อรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน พัฒนา จัดการ และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ รวมทั้งเทคโนโลยี ทางด้านสุขภาพที่เหมาะสมกับบริบทของอาเซียน พัฒนาระบบการจัดการข้อมูลสุขภาพภาครัฐเป็นคลังข้อมูลขนาด ใหญ่ในระดับ ประเทศ ร่วมสนับสนุนและพัฒนาความเข้มแข็งของคณะทำงานต่าง ๆ ภายใต้กรอบอาเซียน พัฒนาระบบติดตาม ประเมินผล 4
ยุทธศาสตร์ ๑. พัฒนาความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาสังคม ในการพัฒนาศักยภาพของระบบสุขภาพของไทยและภายในประชาคม อาเซียน ๒. พัฒนาศักยภาพ โครงสร้าง กฎหมาย บริหารจัดการและระบบงาน ให้ เอื้อต่อการดำเนินงานอย่างบูรณาการและเป็นเอกภาพ เพื่อเตรียมการ เข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ๓. สนับสนุนบทบาทของประเทศไทยในเวทีต่าง ๆ ภายใต้กรอบอาเซียน ๔. สนับสนุนการพัฒนา การจัดการ และการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และ เทคโนโลยีด้านสุขภาพ ทั้งในประเทศไทยและภายในประชาคม อาเซียน ๕. สร้างระบบติดตามและประเมินผล เพื่อลดผลกระทบด้านลบต่อระบบ สุขภาพของประเทศไทยจากการเป็นประชาคมอาเซียน 5
SAFETY SUSTAINABILITY SOCIAL WELFARE HEALTH CARING SHARING SAFETY SUSTAINABILITY SOCIAL WELFARE HEALTH CARING SHARING ONE ASEAN - ONE COMMUNITY
The ASEAN Community is to be established by 2015 as a community that is people- oriented and socially responsible, based on the concept of a caring and sharing society where the well-being and welfare of the peoples are enhanced. ASEAN Socio-Cultural Community Blueprint
Enhancing food security and safetyEnhancing food security and safety Access to healthcare and promotion of healthy lifestylesAccess to healthcare and promotion of healthy lifestyles Improving capability to control communicable diseasesImproving capability to control communicable diseases Ensuring a drug-free ASEANEnsuring a drug-free ASEAN Building disaster-resilient nations and safer communitiesBuilding disaster-resilient nations and safer communities ASEAN Socio-Cultural Community Blueprint
The 19 th ASEAN Declaration of Commitment การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ ๑๙ ผู้นำอาเซียน ได้รับรอง ASEAN Declaration of Commitment: Getting to Zero New HIV Infections, Zero Discrimination, Zero AIDS-Related Deaths 9
10 สู่เป้าหมายที่เป็นศูนย์ (Getting to Zero) ยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ แห่งชาติ พ. ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙
11 วิสัยทัศน์สู่เป้าหมายไม่มีผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ เป้าหมาย พ. ศ. ๒๕๕๙ จำนวน ผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ลดลง ๒ ใน ๓ จากที่คาด ประมาณ อัตราการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด น้อยกว่า ร้อยละ ๒ วิสัยทัศน์สู่เป้าหมายไม่มีการตีตรา และเลือกปฏิบัติ เป้าหมาย พ. ศ. ๒๕๕๙ กฎหมายและนโยบาย ที่เป็น อุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการป้องกัน ดูแลรักษาและบริการรัฐ ได้รับการ แก้ไข การทำงานเอดส์ทุกด้านมีประเด็นที่ เกี่ยวเนื่องกับการเคารพสิทธิ มนุษยชน และสนองตอบต่อ ความจำเพาะกับเพศสภาวะ จำนวนการถูกเลือกปฏิบัติหรือการ ละเมิดสิทธิของผู้ติดเชื้อฯและกลุ่ม ประชากรเป้าหมายหลัก ลดลงไม่ น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ วิสัยทัศน์สู่เป้าหมาย ไม่มีการตาย เนื่องจากเอดส์ เป้าหมาย พ. ศ. ๒๕๕๙ ผู้ติดเชื้อฯ ทุกคนใน แผ่นดินไทย เข้าถึงการ ดูแลรักษาที่มีคุณภาพ อย่างเท่าเทียมกัน จำนวนผู้ติดเชื้อฯ เสียชีวิต ลดลงมากกว่า ร้อยละ ๕๐ จำนวนผู้ติดเชื้อฯ เสียชีวิตเนื่องจาก วัณ โรค ลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐ ( ร่าง ) ยุทธศาสตร์ฯเอดส์ชาติ พ. ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙
12 94% ของ การ ติด เชื้อฯราย ใหม่ 41% 11% 32% 10% 6% สู่เป้าหมาย : ไม่มีผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ เพศสัมพันธ์ กับผู้ไม่ใช่ คู่ครอง รวม เยาวชน ติดเชื้อฯจาก คู่ครอง ผู้ใช้ยาด้วย วิธีฉีด พนง. บริการ และลูกค้า ชายมี เพศสัมพันธ์ กับชาย ประมาณการโดย Asian Epidemic Model % ของการติด เชื้อฯรายใหม่ เกิดขึ้น ใน 31 จังหวัด มุ่งเป้าหมายในพื้นที่ที่คาดว่าจะมี จำนวน ผู้ติดเชื้อฯ รายใหม่มากที่สุด...
13 เร่งรัดขยายการป้องกันให้ ครอบคลุม ประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยงและมีจำนวน การติดเชื้อฯ รายใหม่มากที่สุด เร่งรัดขยายการปกป้องทางสังคมและ ปรับเปลี่ยนสภาวะแวด ล้อมทางกฎหมายที่ มีความสำคัญต่อการป้องกันและการรักษา สร้างความร่วมรับผิดชอบและเป็นเจ้าของ ร่วมในระดับจังหวัดและท้องถิ่นในการ ขยายการดำเนินงานป้องกันและแก้ไข ปัญหาเอดส์ของประเทศ ยุทธ ๑ ยุทธ ๒ ยุทธ ๓ ยุทธ ๔ ยุทธ ๕ พัฒนาระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์รุ่นใหม่ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ในทุกระดับ ยกระดับคุณภาพของมาตรการและ แผนงานที่มีอยู่เดิม ให้เข้มข้น และบูรณาการ ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ ๕ ยกระดับคุณภาพ ของมาตรการและแผนงานที่มีอยู่เดิม ให้เข้มข้นและบูรณาการ 1. การลดการติดเชื้อฯเมื่อแรกเกิด 2. การป้องกันในกลุ่มเยาวชน 3. การส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัยแบบบูรณาการ 4. บริการโลหิตปลอดภัย และ การป้องกันการติดเชื้อ ฯจากบริการสุขภาพ 5. การดูแลรักษา และให้ความช่วยเหลือ ผู้ติดเชื้อฯ และครอบครัว 6. การดูแลเด็กได้รับผลกระทบจากเอดส์ 7. การลดการตีตราและเลือกปฏิบัติ 8. การสื่อสารสาธารณะ 14