 ปัญหาเกี่ยวกับ สพอ.  ปัญหาเกี่ยวกับ อช.  ปัญหาอาจารย์ที่ปรึกษา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
Advertisements

ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
โครงการพัฒนาฝ่าย/ศูนย์ ในสังกัดสถาบันวิจัยและพัฒนา ณ อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ ด้วยกิจกรรม 5 ส โดย นาง พจนันท์ ร่มสนธิ์ (เลขานุการสถาบันวิจัยและพัฒนา)
ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ชื่อตัวบ่งชี้ : 6.1 ร้อยละของหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด 1. จุดอ่อน 1. ยังมีเนื้อหาของบางรายวิชาในแต่ละหลักสูตร เกิดความซ้ำซ้อน 2. การจัดลำดับความสำคัญของรายวิชาในแต่ละ.
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
กิจการนิสิต (Student Affairs)
การประกันคุณภาพการศึกษา
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
แบบประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
นักวิจัยพี่เลี้ยงที่ดีและหน้าที่ของนักวิจัยพี่เลี้ยง
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
สรุปกรอบการพัฒนาหลักสูตรกิจกรรมลูกเสือ
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
สถานที่ปฏิบัติสหกิจ สำนักอำนวยการประจำศาลจังหวัดปัตตานี
มาตรฐานวิชาชีพครู.
ความจำเป็นในการสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
การจัดการศึกษาในชุมชน
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
1 ก.พ.2550 ห้องประชุมดาวเรือง
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ณ วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี
1. ผู้บริหารและคณะกรรมการชุด ต่างๆ มีความมุ่งมั่นในการจัดทำ ระบบบริหารคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ใน ระบบบริหารคุณภาพอย่างสม่ำเสมอ.
การคิดเพื่อความสำเร็จในชีวิต
ความรับผิดชอบ ในวิชาชีพ
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
การพัฒนาข้าราชการพลเรือน สามัญที่อยู่ระหว่างทดลอง ปฏิบัติหน้าที่ราชการ
การปฐมนิเทศข้าราชการกรมประชาสัมพันธ์
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
ร่างพระราชบัญญัติ กองทุนยุติธรรม พ.ศ....
ที่มาของโครงการ ตลอดเวลา 21 ปีที่ผ่านมาทีมงาน " รัก ลูก " ได้ดำเนินงานด้านการให้ความรู้ในเรื่อง ของครอบครัวผ่านสื่อและกิจกรรมในรูปแบบ ต่างๆ แต่ด้วยที่การดำเนินงานส่วนใหญ่ยัง.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
รศ.ดร.จุไรรัตน์ ดวงเดือน รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
เรื่องของการแจ้งข้อมูล ข่าวสาร ต้อง ให้ฉับไว ถูกต้อง ด้านคุณภาพการให้บริการ ความพึง พอใจต้องสำรวจให้ครบทุกหน่วยงาน ต้องพัฒนาทักษะ ความรู้ความเข้าใจ จัดระบบงานใหม่ให้สอดคล้องกับความ.
หลักสูตรฝึกอบรม เทคนิคการวางแผนคนวางแผนงานสำหรับหัวหน้างาน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หมายเหตุ : หน้าแรกแล้วแต่ท่านจะออกแบบนะครับ
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ชี้ทาง “เรียน อย่างนี้สิจบแน่”
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับท้องถิ่น
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
หัวข้อสัมมนา กลุ่มที่ 3 การฝึกอบรมของ ส. ป. ก. ควร อบรมอย่างไรบ้าง ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ควรจัดทำ หลักสูตรอย่างไร การดำเนินงานพัฒนาเกษตรกรรุ่น ใหม่ จะทำอย่างไร.
การศึกษาบัณฑิต (กศบ.) เทคโนโลยีทางการศึกษา มศว. ประสานมิตร
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
กรอบเนื้อหาการพัฒนา เนื้อหาหลักสูตรชั่วโมง 1. ส่วนที่ 1 การพัฒนาสมรรถนะ 180 ระยะที่ 1  คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ระยะที่ 1  คุณลักษณะที่พึงประสงค์  ภาวะผู้นำทางวิชาการ.
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
ความพึงพอใจของนายจ้างต่อบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

 ปัญหาเกี่ยวกับ สพอ.  ปัญหาเกี่ยวกับ อช.  ปัญหาอาจารย์ที่ปรึกษา

 การจัดหลักสูตร - วิชาการมากไป ปฏิบัติน้อยไป - ไม่ควรให้ฝึกแพ่ง - ควรจัดลำดับการฝึกอบรม - ปฐมนิเทศ บรรยายทั่วไป 1 เดือน - ลงฝึกปฏิบัติจริง ส. อาญา 1 เดือน - ขึ้นมาเรียนวิชาการ ( การตรวจสำนวนสั่งคดี ร่าฟ้อง ว่าความ ) 1 เดือน - การจัดหลักสูตรควรให้ อช. เป็น Center แต่ให้ สอดคล้องกับภารกิจองค์กร

 การจัดลง ส. อาญา ควรมีการสำรวจข้อมูล เกี่ยวกับ ปริมาณคดี จำนวนอาจารย์ที่ ปรึกษา ควรอยู่ในอัตรา 2 : 1 ( อช.2 : อจ.1)  ก่อนออกต่างจังหวัด ควรเรียก อช. มา ทบทวนการดำเนินคดีอาญา  สพอ. เอาใจ อช. มากไป  ควรให้ อช. ประเมินอาจารย์ที่ปรึกษา

 อช. ไม่ชอบเรียนวิชาการ ชอบฝึกปฏิบัติ มากกว่า  ปัญหาการรับรู้ของ อช. ไม่เท่ากัน บางคน มาจากทนายความ บางคนไม่เคยทำงาน  อช. ไม่กระตือรืนร้น ไม่สนใจการอบรมการ ฝึกปฏิบัติเท่าที่ควร  อช. มีปัญหาส่วนตัวมาก เช่น ที่อยู่ เงินเดือน  ขาดวินัยการเคารพผู้ใหญ่ การแต่งกาย การมาปฏิบัติงานตามเวลา  ปัญหาด้านบุคลิกภาพ วางตัวไม่ เหมาะสม

 มีรูปแบบการสอบไม่เหมือนกัน การสั่งสำนวน  มีความตั้งใจในการถ่ายทอดความรู้ไม่เท่านกัน บางคนสอนมาก บางคนปล่อยให้ทำเอง ควร สอนแบบตัวต่อตัว ไม่ใช่ Learning by doing / จิตสำนึกในการสอนงาน  ไม่เป็นแบบอย่างที่ดี

 สพอ. ต้องปรับปรุงในข้อต่อไปนี้ 1. จัดหลักสูตรโดยให้ อัยการผู้ช่วย เป็น ศูนย์กลางโดยมุ่งเน้นให้ได้พนักงานอัยการ ปฏิบัติงานได้อย่างมีมาตรฐาน มีประสิทธิภาพ และ มีจริยธรรมคุณธรรม มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม 2. ลดวิชาการ 3. เพิ่มการปฏิบัติ 4. เน้นระเบียบวินัย บุคลิกภาพ 5. เน้นจริยธรรม คุณธรรม มีความรักองค์กร 6. ประเมินผลการฝึกอบรมอย่างเข้มงวดและ ตรงต่อความเป็นจริง เพื่อที่จะได้พนักงานอัยการที่มี ความรู้ความสามารถ

7. พิจารณาคัดเลือกติวเตอร์ที่มีความรู้ ความสามารถ และมีจิตสำนึกในการสอน 8. ส่ง อช. ลงกองฝึกปฏิบัติ ให้เหมาะสม กับปริมาณงานและอาจารย์ที่ปรึกษา ดูสำนักงานที่เหมาะสม อาญา / อาญา กรุงเทพใต้ / อาญาธนบุรี / มีนบุรี / พระโขนง / ตลิ่งชัน

จากการจัดการความรู้ของกลุ่ม Cop 7 โดยผสมผสาน ระหว่าง Tacit และ Explicit knowledge ได้เป็นองค์ความรู้ที่สามารถนำไปปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตร อช. รุ่น 45 ดังนี้ จัดปรับปรุงหลักสูตรอัยการผู้ช่วย เน้นเนื้อหาสาระที่จำเป็นต้องรู้ และสามารถ นำไปใช้ได้จริง โดยจะเน้นหลักสูตรภาค วิชาการที่สั้นและกระชับ เน้นภาคการ ปฏิบัติงานให้มากขึ้น ในหมวดพัฒนาตนเอง - เน้นเรื่อง บุคลิกภาพ ระเบียบวินัย จริยธรรมและคุณธรรม - การทำงานเป็นทีม การทำงานแบบ เครือข่ายกับหน่วยงานอื่น - การอยู่ร่วมกับคนต่างรุ่นกับคนในองค์กร - หาวิชาที่ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบันที่ จำเป็นต้องเรียนรู้

 โดยมุ่งให้อัยการผู้ช่วย เป็น Smart assistant public prosecutor

 S = Service mind มีจิตบริการ  M = Morality คุณธรรมจริยธรรม  A = Attitude มีทัศนคติที่ดี  R = Responsibility มีความรับผิดชอบ  T = Talent มีความเฉลียวฉลาด