การบริหาร ปีงบ 2555 กองทุนย่อย ขอบคุณครับ... ที่ให้หลักประกันสุขภาพฯ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
การบูรณาการด้านนโยบายและกลไกทางการเงิน
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ประชุมกรรมการบริหารศูนย์
การวิเคราะห์แผนงบลงทุน ปี 2552 และแผนยุทธศาสตร์งบลงทุน ปี
สรุปกรอบบริหารงบเหมาจ่ายราย หัวปี ประเภทบริการปีงบ 2551ปีงบ บริการผู้ป่วยนอก (OP) บริการผู้ป่วยใน (IP)*
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE ปีงบประมาณ 2555 ชี้แจงงบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการ ปฐมภูมิ (On top payment) ปีงบประมาณ 2555.
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
แนวทางการสนับสนุนการจัดบริการป้องกัน เพื่อส่งเสริมสุขภาพ สำหรับกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ นายแพทย์สรกิจ ภาคีชีพ ผู้จัดการ กองทุนเพื่อบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
สรุปการประชุม เขต 10.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ทิศทางการจัดสรร งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจำปี 2551
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2557 งบกองทุนโรคไตวาย
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลการดำเนินงาน และผลงานเด่น/ นวัตกรรม SP สาขาโรคไต
1.CKD clinic : คลินิกชะลอไตเสื่อม
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 งบสนับสนุนส่งเสริมการจัดบริการ สำหรับผู้ป่วยจิตเวช.
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพจังหวัดปทุมธานี
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2558
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหาร ปีงบ 2555 กองทุนย่อย ขอบคุณครับ... ที่ให้หลักประกันสุขภาพฯ ร่วมใจ ขอบคุณครับ... ที่ให้หลักประกันสุขภาพฯ และชีวิตใหม่แก่ผมและครอบครัว นายแพทย์ ประทีป ธนกิจเจริญ รองเลขาธิการ สปสช. 5 ตุลาคม 2554

การนำเสนอ 1. บริการผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง 2. บริการควบคุมความรุนแรงของโรค DM&HT 3. กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 4. ค่าสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการและบริการปฐมภูมิ 5. บริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค 6. บริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกันและทันตกรรมประดิษฐ์ 7. บริการเฉพาะโรค (นิ่ว ต้อกระจก ฮีโมฟิเลีย) 8. เงินช่วยเหลือเบื้องต้นผู้รับบริการตาม ม.41 และชดเชย ผู้ให้บริการตาม ม.18

ความครอบคลุมการมีหลักประกันสุขภาพ

การใช้บริการ [ผู้ป่วยนอก/ใน]

การใช้บริการ [สร้างเสริมสุขภาพ] คัดกรองความเสี่ยง วัคซีนทุกกลุ่มอายุ ตรวจก่อนและหลังคลอด คัดกรองมะเร็ง วางแผนครอบครัว คัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ เฝ้าระวังโรคซึมเศร้า ข้อมูล ณ 30 ก.ย. 53

การใช้บริการ [โรคที่มีค่าใช้จ่ายสูง] ไตวายเรื้อรัง มะเร็ง โรคหัวใจ หลอดเลือดสมอง เอดส์ ปลูกถ่ายอวัยวะ ยาจำเป็น ยากำพร้า ภาษาไทย จำนวนคน ข้อมูล ณ 30 ก.ย. 53

การสมทบเงินเข้ากองทุนหลักประกันสุขภาพฯ การมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การสมทบเงินเข้ากองทุนหลักประกันสุขภาพฯ

การคุ้มครองสิทธิ การจ่ายชดเชยความเสียหายจากการรับบริการฯ

ผลการสำรวจความพึงพอใจ จากผู้รับบริการ/ผู้ให้บริการ ที่มาข้อมูล: สำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

5.งบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ งบที่ สปสช.บริหารเพิ่มขึ้น จากปี 2545=315% งบเหมาจ่าย ปี2545 ปี2546 ปี2547 ปี2548 ปี2549 ปี2550 ปี2551 ปี2552 ปี2553 ปี2554 ปี 2555 รายหัว 1,202.4 1,308.5 1,396.3 1,659.2 1,899.6 2,100.0 2,202.0 2,401.3 2,546.0 2,895.6

เงินเดือนภาครัฐ และภาระเงินเดือนของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า หักเงินเดือน 60% หักเงินเดือน 79% หักเงินเดือน 100%

5.งบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายการ (ได้รับ) ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 1. งบเหมาจ่ายรายหัว (ล้านบาท) 103,551.14 113,437.94 122,222.38 139,953.03 - จำนวนประชากรสิทธิ UC (คน) 47,026,000 47,239,700 47,996,600 48,333,000 - อัตราเหมาจ่ายรายหัว (บาท) 2,202.00 2,401.33 2,546.48 2,895.60 2. งบบริการสุขภาพผู้ติดเชื้อ HIV และผู้ป่วยเอดส์ (ล้านบาท) 2,983.77 2,770.85 2,997.73 2,940.06 3. งบบริการทดแทนไตสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (ล้านบาท) 1,530.07 1,455.44 3,226.55 3,857.89 4.งบบริการควบคุม ป้องกัน และรักษาโรค Metabolic (ล้านบาท) 304.59 630.59 437.90 5. งบส่งเสริมการบริการสาธารณสุข(ล้านบาท) - บริการผู้ป่วยจิตเวช 203.62 204.48 รวมทั้งสิ้น (ล้านบาท) 108,064.99 117,968.83 129,280.88 147,393.35

สรุปเก้าปีของระบบ UC ประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพมากขึ้น ป้องกันการล้มละลายจากโรคหัวใจ มะเร็ง เอดส์ ไตวาย ระบบบริการปฐมภูมิและ P&P ต้องการการพัฒนาเร่งด่วน การเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ และเพิ่มความสัมพันธ์ฯ เป็นงานท้าทายใน 5 ปี ข้างหน้านี้

หลักประกันสุขภาพเพื่อคนไทยใน 5 ปีข้างหน้า จากให้สิทธิทั่วถึง เป็นธรรม สู่หลักประกันสุขภาพที่ประชาชนเข้าถึง ด้วยความมั่นใจ

ห้างานเน้นหนักในปี 2555 ระบบบริการใกล้บ้านใกล้ใจและสุขภาพชุมชน (ระบบบริการปฐมภูมิ และกองทุนสุขภาพ อปท.) สร้างนำซ่อม ช่วยคนไทยห่างไกลโรค ( P&P) ป้องกันและควบคุมภัยเงียบ ( DM/HT ) ป้องกันล้มละลายจากโรคค่าใช้จ่ายสูง (หัวใจ/มะเร็ง/ไตวาย) 5. บริการด้วยหัวใจความเป็นพี่เป็นน้อง (มิตรภาพบำบัด เพื่อนช่วยเพื่อน)

ปีงบ 2555 เป้าหมายและ บริการไตวาย แนวทางบริหาร ขอบคุณครับ... ที่ให้หลักประกันสุขภาพฯ และชีวิตใหม่แก่ผมและครอบครัว

จำนวนสะสมของผู้ป่วยทดแทนไต ในระบบ UC ม.ค.51 ให้สิทธิ์ CAPD ต.ค.51 ให้สิทธิ์ HD 74% 26% ข้อมูล ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2554

จำนวนสะสมของผู้ป่วย PD ในระบบ UC 64% 36% ข้อมูล ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2554

จำนวนสะสมของผู้ป่วย HD ในระบบ UC 70% 30% ข้อมูล ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2554

Number of Kidney transplant since 2002 YEAR TOTAL CDKT LRKT 2002 188 134 54 2003 298 171 127 2004 180 46 2005 173 107 66 2006 224 139 85 2007 376 159 217 2008 340 149 191 2009 308 151 157 2010 354 169 185

การเกิดเยื่อบุช่องท้องอักเสบใน ผป. CAPD ปี 2552 การศึกษาใน 23หน่วยนำร่องมีอัตราการเกิดเยื่อบุช่องท้องอักเสบเฉลี่ยอยู่ที่ 20.7 เดือน/คน/ครั้ง ปี 2554 การศึกษาใน 102 หน่วยบริการ CAPD มีอัตราการเกิดเยื่อบุช่องท้องอักเสบ เฉลี่ยอยู่ที่ 25.6 เดือน/คน/ครั้ง ทั่วโลกเฉลี่ย 18 เดือน/คน/ครั้ง และยุโรป อยู่ที่ 24 เดือน/คน/ครั้ง

ปี 2554 ประหยัดงบประมาณได้ รวม 1,670 ล้านบาท ปี 2554 ประหยัดงบประมาณได้ รวม 1,670 ล้านบาท ลดค่าฟอกเลือด จากครั้งละ 2,000 บาท เป็น 1,500 บาท และมีผู้ป่วย 8,169 คน ฟอกเลือด 1.06 ล้านครั้ง ประหยัดงบได้ 530 ล้านบาท ลดค่าน้ำยา CAPD จากถุงละ 160 บาท เป็น 105 บาท และมีผู้ป่วย 7,391 คน ใช้น้ำยา 10.8 ล้านถุง ประหยัดงบได้ 594 ล้านบาท ลดค่ายา EPO (ยากระตุ้นสร้างเม็ดเลือดแดง) จากเข้มละ 750 บาท เป็น 250 บาท และมีผู้ป่วยรวม 15,560 คน ใช้ยา 1.1 ล้านเข็ม ประหยัดงบได้ 550 ล้านบาท

ประมาณการใช้จ่ายงบประมาณทดแทนไต ในระบบ UC

งบประมาณการบริการผู้ป่วยไตวายปีงบประมาณ 2555 บริการผู้ป่วยไตวาย 3,857.893 ลบ. งบพัฒนาระบบ 22.06ลบ. งบชดเชยบริการ 3,835.833 ลบ. CAPD 12,273 คน HD-criteria 2,443 คน HD co-pay 3,869 คน HD รายใหม่รับยา EPO 1,553 คน KT+ Immuno 1092 คน งบพัฒนาระบบบริการจะครอบคลุมกิจกรรม เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบบริการ อาทิเช่น การพัฒนาบุคลากร/ การพัฒนา CAPD Technology center/ การพัฒนา Excellent center for KT/ การจัดประชุมคณะกรรมการ คณะทำงาน/ การประชุมสัมมนา/ การสนับสนุนเครือข่ายผู้ป่วย/ การเผยแพร่ความรู้และรณรงค์สร้างความเข้าใจ เป็นต้น มติ งบที่ขอเพิ่ม ถ้ากลางปีหน้ามีงบกองทุนอื่นเหลือ ให้เป็น priority แรกที่จะขอปรับมา

เป้าหมายเมื่อสิ้นปี 2555 ขยายบริการ CAPD สู่เครือข่าย รพช.ขนาดใหญ่ 50 แห่ง ตรวจสอบคุณภาพการให้บริการและการจ่ายชดเชยค่าบริการ HD พัฒนาระบบการหาและบริจาคอวัยวะ เพื่อเพิ่มการบริการ KT และการเข้าถึงยากดภูมิหลัง KT สร้างความเข้มแข็งและกลไกการพัฒนาและควบคุมคุณภาพบริการ CAPD และ HD ผ่าน สปสช.เขต และสาขาจังหวัด พัฒนาศักยภาพบุคลากร และบริหารค่าตอบแทนตามภาระงาน ขยายนำร่องการจัดตั้ง CKD Clinic ร่วมมือกับกองทุนโรคเรื้อรัง เพิ่มทางเลือก Conservative/Supportive Rx ในผู้ป่วย ESRD สนับสนุนการพัฒนาระบบข้อมูล RRT และ การประเมินผล 4 ปี นโยบาย RRT ในไทย

การบริหารงบประมาณ งบบริการ ทั้ง CAPD HD และ KT บริหารเหมือนเดิม ยกเว้น ค่าภาระงาน ให้มีทางเลือก จ่ายผ่าน หน่วยบริการ (เหมือนเดิม) จ่ายผ่าน สปสช.สาขาจังหวัด งบพัฒนาระบบ สนับสนุน การพัฒนาระบบบริการ เน้นขยาย CAPD สู่ง รพ.ชุมชน ที่เป็นเครือข่าย ควบคุมคุณภาพระบบ HD และพัฒนาระบบรับบริจาคอวัยวะ พัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการไตจังหวัด 27

ปีงบ 2555 เป้าหมายและ บริการ DM/HT แนวทางบริหาร ขอบคุณครับ... ที่ให้หลักประกันสุขภาพฯ และชีวิตใหม่แก่ผมและครอบครัว

รายงานผลการดำเนินงาน การประเมินผลการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร ปี 2553 - 2554 An Assessment on Quality of Care among Patients Diagnosed with type 2 Diabetes and Hypertension Visiting Ministry of Public Health and Bangkok Metropolitan Administration Hospitals in Thailand 2010 - 2011 เครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน (CRCN)

ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่อยู่ในระบบการรักษาตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป 2553: N = 23,443 2554: N = 20,090

การได้รับการตรวจทางห้องปฎิบัติการ ชนิดของการตรวจ 2553 2554 P-value จำนวน ร้อยละ ตรวจ Fasting Plasma Glucose ในการรักษาครั้งล่าสุด 20,967 89.4 16,526 84.8 <0.001 ตรวจ Hb A1c ในรอบ 1 ปีที่ผ่านมา 17,179 73.8 14,461 74.2 0.002 ตรวจ Lipid profile 18,575 79.2 16,234 83.3 ตรวจ Microalbuminuria ในปัสสาวะ ใน 1 ปี ที่ผ่านมา 7,955 34.0 12,669 66.9

อัตราร้อยละของการตรวจ HbA1c ในรอบ 1 ปีที่ผ่านมา 2554 ค่าเฉลี่ยทั้งประเทศ 74.2% สูงสุด 96.2% (จังหวัด...) ต่ำสุด 37.1% (จังหวัด...)

ผลการรักษาผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 2553 2554 P-value จำนวน ร้อยละ มีระดับ Fasting Plasma Glucose ในการติดตามการรักษาครั้งล่าสุด อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ 70-130 mg/dl 8,925 42.6 6,734 40.2 <0.001 มีระดับ Hb A1c ในการติดตามการรักษาครั้งล่าสุด อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ Hb A1c < 7.0% 6,121 35.6 5,092 34.8 0.44 มีระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยเบาหวานอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม ≤ 130/80 มิลลิเมตรปรอท 11,954 51.2 10,923 54.9 มีระดับ LDL อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม < 100 มก./ดล. 7,964 42.9 6,896 42.1 0.46

อัตราร้อยละของการมีผู้ป่วยเบาหวาน มีระดับ Hb A1c < 7.0% 2554 ค่าเฉลี่ยทั้งประเทศ 34.8% สูงสุด 63.1% (จังหวัด...) ต่ำสุด 14.9% (จังหวัด...)

National Average = 7.972.05 (National% <7 = 37.95%) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีระดับ Hb A1C <7% จำแนกตามเขตสปสช. 2553 - 2554 National Average = 7.972.05 (National% <7 = 37.95%) US 2003-2006 = 7.15 0.07 (US 2003-2006 %<7 = 57.0%)

การมีระดับ HbA1C<7% จำแนกตามประเภทของโรงพยาบาล จำนวน (ร้อยละ) 2553 2554 โรงพยาบาลศูนย์ 1529 (39.2%) 851 (36.1%) โรงพยาบาลทั่วไป 2139 (34.5%) 899 (33.4%) โรงพยาบาลชุมชน 2275 (34.0%) 2716 (34.5%)

งบบริการควบคุม ป้องกันความรุนแรง DM/HT ปี 55 (Ontop 437.895 ลบ.) งบค่าบริการ2nd prevention (400.00 ลบ.) งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ (37.895 ลบ.) จัดสรรตามจำนวนผู้ป่วยที่มีในทะเบียน (80%) - นโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนงาน - พัฒนาระบบบริการ - พัฒนาบุคลากร - ระบบสารสนเทศและ M&E จัดสรรตามความครอบคลุม และคุณภาพบริการ(20%) ค่าบริการจัดสรรให้หน่วยบริการ (≥90%) ค่าบริการจัดสรรผ่านจังหวัด ค่าบริการดำเนินการร่วมกันระดับจังหวัด(<10%)

นโยบายการป้องกัน รักษา DM/HT Early Detection เน้นบทบาทของ อปท. และกองทุน อบต./เทศบาล ในการทำ Self Screening DM Screening และระบบเฝ้าระวัง DM & HT ในชุมชน Prompt Rx เน้นการให้บริการของหน่วยบริการปฐมภูมิ และระบบส่งต่อส่งกลับผู้ป่วยของเครือข่ายหน่วยบริการ DM & HT Improve Quality of Rx เน้นการเพิ่มคุณภาพของคลินิก DM & HT และการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ

แนวทางการดำเนินงาน ส่วนกลาง เป็นหน่วยสนับสนุน ส่วนกลาง เป็นหน่วยสนับสนุน จังหวัด เป็นหน่วยยุทธศาสตร์และอำนวยการ หน่วยบริการและกองทุนสุขภาพ อปท. เป็นหน่วยจัดบริการ

บทบาท สปสช.สาขาจังหวัด/สสจ. มีหน่วยงานภายในรับผิดชอบและมี จนท. เป็น DM/HT System Manager มีระบบข้อมูลผู้ป่วย และแผน DM/HT ของจังหวัด สนับสนุนการพัฒนาและประสานเครือข่ายหน่วยบริการและกองทุนสุขภาพ อปท. รณรงค์สร้างกระแสและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนในพื้นที่

เป้าหมาย/แนวทางงาน DM/HT ปี 55 กสธ./สปสช. 1. เป็นนโยบายเน้นหนัก 2. ผู้ตรวจ/เขตให้ความสำคัญอันดับต้นๆ 3. บูรณาการการทำงานของกองทุนย่อย องค์กรวิชาการ 1. สนับสนุนการพัฒนา ระบบบริการและบุคลากร 2. มีเวทีวิชาการที่หลากหลาย และต่อเนื่อง

2. มีระบบข้อมูลผู้ป่วย DM/ HT ของพื้นที่ จังหวัด 1. มีหน่วยงานเป็นเจ้าภาพ และมีผู้บริหาร เป็น DM/HT System Manager ที่ active 2. มีระบบข้อมูลผู้ป่วย DM/ HT ของพื้นที่ รพ. 1. มี DM/HT Case Manager 2. ปรับคลินิก DM/HT เป็น Chronic care model 3. มีข้อมูลและการส่งต่อผู้ป่วยสู่เครือข่ายปฐมภูมิ 4. เพิ่มการมีส่วนร่วมของชมรมผู้ป่วย และญาติ ศูนย์แพทย์ชุมชน/รพ.สต. 1. มีระบบบริการ DM/HT 2. สนับสนุนกิจกรรม DM/HT ในชุมชน กองทุนอบต./เทศบาล 1. กิจกรรม DM/HT อยู่ในแผน 2. มีการตรวจคัดกรองความเสี่ยง และตรวจ DM/HT 3. สนับสนุนการตั้งชมรม DM/HT ที่มีกิจกรรมทุกชุมชน

ปีงบ 2554 กองทุน อปท. เป้าหมายและ แนวทางบริหาร ขอบคุณครับ... ที่ให้หลักประกันสุขภาพฯ และชีวิตใหม่แก่ผมและครอบครัว

ภาพกิจกรรมงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

ทิศทางในการขับเคลื่อนกองทุนฯ ระยะที่หนึ่ง (ปี 49-52) เป้าหมายจัดตั้งกองทุนให้ได้ เน้นบทบาทของ อปท. และการสร้างความร่วมมือในพื้นที่ ระยะที่สอง (ปี 53-55) เป้าหมายให้กองทุนทำงานให้ได้ เน้นบทบาทสนับสนุนของหน่วยงานสาธารณสุข เพื่อสร้างสุขภาวะในชุมชนและนวัตกรรมส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคใหม่ๆ ในพื้นที่ ระยะที่สาม (ปี 56-60) เป้าหมายงานสร้างสุขภาวะ ในชุมชนเป็นงานปกติของ อปท. เน้นการมีร่วมของภาคประชาสังคม และหน่วยงานอื่น ๆ ในพื้นที่ โดยมีกองทุน เป็นฐานสนับสนุน

การขยายกองทุนฯ ปี49-50 อบต.หรือเทศบาลนำร่องอำเภอละแห่งรวม 888 แห่ง ปี 2551 อบต.หรือเทศบาลที่สนใจและสมัครเข้าร่วม รวม 2,689 แห่ง หรือ 35% ของพื้นที่ ดูแลประชากร 20.0 ล้านคน ปี 2552 อบต.หรือเทศบาลที่มีความพร้อมตามเกณฑ์ที่กำหนด รวม 3,935 แห่ง หรือ 51% ของพื้นที่ ดูแลประชากร 28.6 ล้านคน ปี 2553 อบต.หรือเทศบาลที่มีความพร้อมตามเกณฑ์ที่กำหนด รวม 5,508 แห่ง หรือ 71% ของพื้นที่ ดูแลประชากร 39.6 ล้านคน เงินสมทบ 492.8 ล้านบาท หรือ 31% ของเงิน ที่สปสช.โอนให้จำนวน 1,582.9 ล้านบาท ปี 2554 อบต.หรือเทศบาลทุกแห่งที่เหลือและมีความพร้อม ตามเกณฑ์ที่กำหนดเข้าร่วม รวม 7,500 แห่งหรือ 97% ของ อบต./เทศบาลทั้งประเทศ มีทุนหมุนเวียนมากกว่า 3,000 ล้านบาท

เป้าหมายและงานเน้นหนักกองทุนฯปี 2555 อบต. และเทศบาลทุกแห่งร่วมดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ทุกกองทุนมีข้อมูลสุขภาพกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ มีแผนสุขภาพชุมชน หรือแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ของชุมชนร่วมกับหน่วยบริการ ทุกกองทุนมีการตรวจคัดกรอง สร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคเรื้อรัง เน้นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไข้เลือดออก เอดส์ และวัณโรค

เป้าหมายและงานเน้นหนักกองทุนฯปี 2555 4. ทุกกองทุนมีกิจกรรมและอาสาสมัครดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ คนพิการ คนด้อยโอกาสร่วมกับหน่วยบริการและท้องถิ่น ทุกกองทุนมีการติดตามประเมินผลกองทุน โดยหน่วยงานวิชาการภายนอก และมีรายงานการเงินทุกไตรมาส และประจำปีผ่านระบบอิเลคโทรนิค 6. ทุกจังหวัดมีกองทุนต้นแบบเป็นศูนย์เรียนรู้เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

สุขภาพชุมชน (นพ.ประเวศ วะสี) สุขภาพชุมชน (นพ.ประเวศ วะสี) ดูแลรักษาโรคที่พบบ่อย ควบคุมเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ควบคุมโรคติดต่อ เอดส์ และวัณโรค สร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค ดูแลผู้สูงอายุ และคนพิการ อนุรักษ์ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน

ปีงบ 2555 เป้าหมายและ บริการปฐมภูมิ แนวทางบริหาร ขอบคุณครับ... ที่ให้หลักประกันสุขภาพฯ และชีวิตใหม่แก่ผมและครอบครัว

กรอบการบริหารงบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ และบริการปฐมภูมิ ปีงบประมาณ 2555 งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการและบริการปฐมภูมิ 1,879 ลบ.(38.88 บ./ปชก.) งบ P&P ปี 2555 PPA 1) งบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการปฐมภูมิ (On top payment) 1,396 ลบ. (28.88บ./ปชก.) 2) งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการปฐมภูมิ 483 ลบ. (10บ./ปชก.) งบจัดสรร ตามเกณฑ์คุณภาพเชิงกระบวนการ (483 ลบ.) 1.1สนับสนุน รพ.สต.และหน่วยบริการ ปฐมภูมิอื่นๆ ตามเกณฑ์ที่กำหนด (1,396 ลบ.) 2.1 พัฒนาศักยภาพ การจัดบริการ ปฐมภูมิ (300 ลบ.) 2.2 สนับสนุนการผลิต พัฒนาและกระจายบุคลากร (183 ลบ.) บริหารโดย สปสช.จังหวัด บริหารโดย สปสช.เขต บริหารโดยกองทันพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการ

ทิศทางการการพัฒนาบริการปฐมภูมิ ปี 2555 เสริมสร้างความเข้มแข็งระบบบริการปฐมภูมิ (Primary care strengthening) ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ ปี 2555-2559 และของ กสธ. สนับสนุนนโยบาย รพ.สต. ต่อเนื่องผ่านการบริหารงบตาม เกณฑ์ศักยภาพและคุณภาพบริการปฐมภูมิ(On Top payment) สนับสนุนการพัฒนาศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง หรือหน่วยบริการ ปฐมภูมิเขตเมืองตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข ให้ความสำคัญกับกลไกการบริหารจัดการเครือข่ายบริการปฐมภูมิ ระดับอำเภอ (District Health System) กลไกการบริหารจัดการและพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ระดับจังหวัด (สสจ.) เป็นกลไกสำคัญที่สุดในการ สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขที่บูรณา การในระดับพื้นที่

ทิศทางการพัฒนาบริการปฐมภูมิ ปี 2555 ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข องค์กรวิชาชีพ และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พัฒนาระบบบริการและสนับสนุน การจัดหาและพัฒนากำลังคนปฐมภูมิ รวมทั้งจัดระบบ สนับสนุนเพื่อการคงอยู่ของกำลังคนในพื้นที่ เน้นสนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะกำลังคนในระบบ บริการปฐมภูมิ โดยใช้พื้นที่เป็นฐานการเรียนรู้ โดย พัฒนา รพช./หน่วยบริการปฐมภูมิเป็นสถาบันร่วมผลิต และพัฒนา แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวและบุคลากร อื่นๆในงานบริการปฐมภูมิ จัดหาและดึงกำลังคนที่สำคัญสู่หน่วยบริการปฐมภูมิ เช่น นักกายภาพบำบัด สู่ รพ.ชุมชน และทันตาภิบาล สู่ รพ.สต.

ผลผลิตสำคัญ เมื่อสิ้นปีงบประมาณ 2555 งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการและบริการปฐมภูมิ 1,879 ลบ.(38.88 บ./ปชก.) งบ P&P ปี 2555 งบตามเกณฑ์คุณภาพ 1) งบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการปฐมภูมิ (On top payment) 2) งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการปฐมภูมิ 1.มี CMU/clinic ผ่านเกณฑ์ 100 แห่ง 2.มี PCU (รพ.สต.) ตามเกณฑ์ 7,200 แห่ง 3.ผลผลิตเชิงกระบวนการและผลผลิตบริการตามเกณฑ์ 7,300 แห่ง 1. มี DHS ที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่50% 1. มีแพทย์รพช. ได้รับการอบรม FM >100 คน และปรับระบบบริการใหม่ 2. มี รพช. 50 แห่งเป็นสถาบันร่วมผลิตและพัฒนากำลังคน ฯลฯ การจัดการ การบริการและระบบข้อมูลปฐมภูมิมีคุณภาพ มากขึ้น

ปีงบ 2555 เป้าหมายและ สร้างเสริม,ป้องกันฯ แนวทางบริหารบริการ ขอบคุณครับ... ที่ให้หลักประกันสุขภาพฯ และชีวิตใหม่แก่ผมและครอบครัว

กรอบการบริหารงบ P&P เป็นการบริการ P&P รายบุคคลและครอบครัว แก่คนไทยทุกสิทธิ เป็นค่าชดเชยบริการตามชุดสิทธิประโยชน์และค่าบริการเพิ่มเติม ให้หน่วยบริการ สถานพยาบาล หรือองค์กรอื่นๆ ที่จัดบริการ P&P เป็นค่าแก้ไขปัญหาสาธารณสุข (P&P) เฉพาะพื้นที่ และหรือภาพรวมประเทศ เป็นค่าสนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการ

กรอบการบริหารงบ P&P ปี 2555 คำนวณจาก 329.65 บาท/ปชก.UC 48.333 ลค. (1) NPP& Central procurement (26.47) (2) P&P Express Demand (131.96) (3) P&P Area based (60.00) (4) สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ (7.68) (5) ทันตกรรมส่งเสริม (18.65) กองทุน อปท. (40.00) Area problem ระดับเขต/จังหวัด & คุณภาพ (20.00+ส่วนที่เหลือจากกองทุนตำบล) หน่วยบริการ Specific gr. & activity (58.86) Capitation (73.10) หักเงินเดือน P&P Capitation ( 244.76 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 65.096 ล้านคน)

หน่วยที่รับ/บริหารเงิน รูปแบบการจ่ายเงิน P&P ปี 2555 ประเภทบริการ รูปแบบการจ่าย หน่วยที่รับ/บริหารเงิน PP national priority ตามโครงการที่เป็นปัญหาสำคัญระดับประเทศ กรมวิชาการ สธ. /หน่วยงานอื่นๆ central procurement (EPI & Influenza vac.) ตามจน.ปริมาณวัคซีนที่ใช้จริงของหน่วยบริการ องค์การเภสัชกรรม PP express demand - Capitation - Specific activity ตามจำนวนประชากร เหมาจ่ายตามชุดกิจกรรม หน่วยบริการ ผ่าน สปสช.สาขาจังหวัด PP area based - เขต/จังหวัด - กองทุนท้องถิ่น ตามโครงการที่เป็นปัญหาระดับเขต/จังหวัด กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น (อปท.) สปสช.เขต สปสช.สาขาจังหวัด กองทุนท้องถิ่น สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ ตามแผนงาน,โครงการ สปสช.,สสจ.,สสอ.,ผู้ตรวจราชการ,ท้องถิ่น,หน่วยงานอื่นๆ 58

National Priority Program บริหารจัดการในรูป คกก.ในส่วนกลางดูแลในแต่ละแผนงาน เป็นค่าสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ และ/หรือค่าบริการของแผนงานนั้น เช่น การพัฒนาศักยภาพบุคลากร การพัฒนาระบบสารสนเทศ การพัฒนาระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล การนำร่องการจัดบริการสาธารณสุขแนวใหม่ เป็นต้น แผนงานที่ดำเนินการปี 2555 แผนงานเพิ่มเติมใหม่ 4. แผนงานเด็กฉลาด พัฒนาการดี 5. แผนงานควบคุมป้องกันปัจจัยเสี่ยง ต่อโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง 6. แผนงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มแรงงานและข้าราชการ 7. แผนงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันความเสี่ยงในกลุ่มวัยรุ่น 8. แผนงานควบคุม ป้องกัน Thalassemia แผนงานเดิม/มีมติแล้ว 1. แผนงานป้องกันและเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า 2. แผนงานคัดกรองป้องกันและควบคุมโรคมะเร็ง 3. แผนงานควบคุมป้องกันการติดเชื้อ HIV

งบสนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการ PP กรอบกิจกรรม พัฒนากลไกการบริหารจัดการและการบริการของหน่วยบริการ/หน่วยบริหารในระดับตำบล อำเภอ จังหวัดให้เข้มแข็ง พัฒนาศักยภาพบุคลากรทั้งการบริการและการจัดการของหน่วยบริการและหน่วยบริหาร รวมถึงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พัฒนาสารสนเทศให้มีข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้องในฐานข้อมูลของหน่วยบริการ และมีข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ ติดตาม และประเมินผลระดับอำเภอ จังหวัด เขต และประเทศ การนิเทศติดตาม กำกับและประเมินผลโดยส่วนกลางและพื้นที่ พัฒนารูปแบบบริการอื่นๆ ตลอดจนนวัตกรรมการบริการและการบริหารจัดการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

ปีงบ 2555 เป้าหมายและ แนวทางบริหาร บริการทันตกรรมฯ ขอบคุณครับ... ที่ให้หลักประกันสุขภาพฯ และชีวิตใหม่แก่ผมและครอบครัว

กรอบการดำเนินงานปี 2555 กรอบการบริหารงบทันตกรรมฯปี 2555 ปชก.UC 48.333 ลค. ปชก. ทุกสิทธิ 65.096 ลค. งบบริการทันตกรรมฯ กรอบ/เป้าหมายการบริหารกองทุนฯเหมือนปี 54 งบ/กิจกรรม ให้บูรณาการผสมผสานกับงานอนามัยโรงเรียนและเด็กเล็ก งบบริการ 80% โดยการปรับเกลี่ยผ่านสาขาจังหวัดแล้วจึงส่งเข้าบัญชี CUP การพิจารณาอนุมัติแผนและโครงการ โดย คปสอ.(แบบใหม่) งบบริการระดับจังหวัด 20% ให้ใช้กับกิจกรรมที่เน้นหนักงานด้านการจัดบริการ กิจกรรมพัฒนาระบบใช้ งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน(งบพัฒนาระบบ) บริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน 18.65 บ./ ปชก.ทุกสิทธิ (1,214.04 ลบ) . บริการทันตกรรมประดิษฐ์ (4.30บ/ปชก. UC) บริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน 17.16 บ/ปชก.ทุกสิทธิ (1,117.047 ลบ) งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ 1.49 บ/ปชก.ทุกสิทธิ (96.993 ลบ) บริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากที่บริหารระดับจังหวัด 3.43 บ/ปชก.ทุกสิทธิ (223.38 ลบ) (20 %) บริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก (บริการระดับ CUP บริหารโดย คปสอ. แบบใหม่) 13.73/ปชก.ทุกสิทธิ (893.53 ลบ) (80 %)

ข้อมูลการให้บริการฟันเทียม (2551-2554) ที่มา: สำนักบริหารการชดเชยค่าบริการ สปสช.

เป้าหมายและแนวทางการบริหาร บริการทันตกรรมปี 2555 1.เพิ่มความร่วมมือ ในการพัฒนาระบบและการจัดบริการทันตกรรมระหว่างหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องโดยให้ความสำคัญกับบทบาทของมหาวิทยาลัยและภาคเอกชนเพิ่มมากขึ้น 2. มีแผนยุทธศาสตร์ ด้านทันตสาธารณสุขระดับประเทศแผนพัฒนาระบบและการจัดบริการทันตกรรม (Service Plan) ระดับจังหวัดและแผนให้บริการทันตสาธารณสุขที่จำเป็น ของแต่ละ คปสอ.ใหม่โดยทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของ 3. ทุกจังหวัดมีการดำเนินการตามแผนพัฒนาระบบและการบริการทันตกรรม (Service Plan) และมีระบบข้อมูลที่สนับสนุนการบริหารระบบ

เป้าหมายและแนวทางการบริหาร บริการทันตกรรมปี 2555 4. มีการสนับสนุนการผลิต พัฒนาศักยภาพและการกระจายทันตบุคลากร สู่หน่วยบริการระดับปฐมภูมิโดยเฉพาะ รพ.สต.อย่างจริงจัง 5. มีการดำเนินงานทันตสาธารณสุขผสมผสานกับงานอนามัยอื่นๆ ในศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียนอนุบาล และโรงเรียนประถมศึกษา อย่างเข้มข้น และนักเรียนได้รับบริการทันตกรรม Comprehensive care อย่างทั่วถึง

สรุปปี 2555 กรอบ/เป้าหมายการบริหารงบบริการฯเหมือนปี54 งบ/กิจกรรม อาจรวม/ผสมผสานงานอนามัยโรงเรียนและเด็กเล็ก งบบริการ 80% ผ่านสาขาจังหวัด ส่งเข้าบัญชี CUP อนุมัติแผนโดย คปสอ.(แบบใหม่) งบบริการระดับจังหวัด 20% ไม่ให้ใช้กับกิจกรรมพัฒนาระบบ(ใช้งบสนับสนุนส่งเสริมฯแทน)

ปีงบ 2555 เป้าหมายและ บริการเฉพาะโรค แนวทางบริหารงบ ขอบคุณครับ... ที่ให้หลักประกันสุขภาพฯ และชีวิตใหม่แก่ผมและครอบครัว

การชดเชยค่าบริการนิ่ว รายการ ราคาเหมา ค่าบริการ ค่าภาระงาน เงื่อนไข ผ่าตัดแบบเปิด 25,000 20,000 5,000 ไม่เกินข้างละ 1 ครั้ง/ปี ส่องกล้อง 16,000 13,000 3,000 ไม่เกินข้างละ 2 ครั้ง/ปี ESWL 18,000 1,5000 เบิกเมื่อบริการสำเร็จ

เป้าหมายและแนวทางผ่าตัดต้อกระจก เพิ่มการเข้าถึงบริการ ลดการรอคิว ลดภาวะแทรกซ้อนและความพิการ เพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านสายตา เป้าหมาย 100,000 ดวงตา

แนวทางการสนับสนุนค่าบริการโรคฮีโมฟิเลีย 1. กรณีเลือดออกในระยะเริ่มต้น(Early bleeding)จ่ายในอัตรา

แนวทางการสนับสนุนค่าบริการโรคฮีโมฟิเลีย 2. กรณีเลือดออกรุนแรงที่เป็นอันตรายถึงชีวิตหรือผ่าตัดฉุกเฉิน (Life Threatening Bleeding and Emergency Surgery) จ่ายเพิ่มจากระบบ DRG ให้หน่วยบริการส่งต่อเฉพาะโรคในโครงการที่ได้รักษาผู้ป่วยที่มีอาการเลือดออกรุนแรงที่เป็นอันตรายถึงชีวิตหรือผ่าตัดฉุกเฉิน ตามมูลค่าแฟคเตอร์เข้มข้นที่ใช้จริง แต่ไม่เกิน 120,000 บาท/ ครั้ง admission

ปีงบ 2555 เป้าหมายและ แนวทางบริหารงบ มาตรา41 และ 18 ขอบคุณครับ... ที่ให้หลักประกันสุขภาพฯ และชีวิตใหม่แก่ผมและครอบครัว

ประเภทของความเสียหายและอัตราการจ่ายเงิน (1) เสียชีวิต หรือทุพพลภาพอย่างถาวร 200,000 บาท (2) พิการ หรือสูญเสียอวัยวะ 120,000 บาท (3) บาดเจ็บ หรือเจ็บป่วยต่อเนื่อง 50,000 บาท งานพิทักษ์สิทธิ คือภารกิจ สำนักกฎหมาย สปสช.

ขอบคุณครับ