ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
Advertisements

การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
ความคาดหวังของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อการติดตามประเมินผล
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
การบูรณาการด้านนโยบายและกลไกทางการเงิน
3 กรอบการบริหารงบ P&P ปี 2553 NPP &Central Procurement (15.17) NPP &Central Procurement (15.17) P&P Area based (รวม PP Community) (58.41) P&P Area based.
ระบบข้อมูล/ระบบ GIS รพ.สต.
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
การคิดจัดสรรงบ PPE ปี 2556 การคิดจัดสรรงบ PPE ปี 2556 รายการงบ วงเงิน
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ประชุมกรรมการบริหารศูนย์
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
สรุปกรอบบริหารงบเหมาจ่ายราย หัวปี ประเภทบริการปีงบ 2551ปีงบ บริการผู้ป่วยนอก (OP) บริการผู้ป่วยใน (IP)*
การบริหารงบบริการ P&P ปีงบประมาณ 2553
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
โครงการ "ฟันเทียมพระราชทาน"
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
การติดตามประเมินผล ปี 2552
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
งานทันตสาธารณสุข ในหน่วยบริการปฐมภูมิ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
ค่าบริการแพทย์แผนไทยปีงบ 2556
ทิศทางการจัดสรร งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจำปี 2551
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
หลักเกณฑ์การจัดสรร งบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
P&P expressed demand (Itemized 9 รายการ)
ได้รับจัดสรรวงเงิน 3,218,091. เกณฑ์การจัดสรรสัดส่วน (%) วงเงิน ( 3,218,091 ) 1. ประชากร30 965, ผลงาน70 2,252,664 แนวทางการจัดสรร งบ P4P จ.กระบี่
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส
เรียนรู้ระบบหลักประกันสุขภาพ
มติคณะอนุกรรมการบริหารงานหลักประกันสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี ครั้งที่ 1/2557 วันที่ 15 มกราคม 2557 เรื่อง การบริหารจัดการงบ OP / PP Basic Service จากหน่วยบริหารประจำ.
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P อุเทน หาแก้ว นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ กลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี

การจัดการข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต. 1.ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการจัดบริการใน รพ.สต. โปรแกรม/ระบบข้อมูล/รายงาน สำหรับการจ่ายเงินชดเชย - OP/PP individual record (ข้อมูล 18 แฟ้ม, 12+8 แฟ้ม) - E-Claim - PPIS (ระบบการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง) - Sealant Program (กองทันตฯ กรมอนามัย) - Pap-registry (กรมการแพทย์) - โปรแกรม Depression (กรมสุขภาพจิต) - แบบรายงานที่กำหนดโดย สปสช. ( TSH ) ระบบ GIS ประมวลผล/วิเคราะห์ข้อมูล

การจัดการข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต. 2 ข้อมูลสารสนเทศสำหรับภาคี และประชาชน ข้อมูลสารสนเทศสำหรับภาคี อสม./โรงเรียน อสม. อปท. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สารสนเทศสำหรับประชาชน ให้สุขสุขศึกษา / ประชาสัมพันธ์

การบริหารจัดการงบ P&P P&P Capitation (199.22 บาทต่อหัวปชก.ทุกสิทธิ 64.446 ล้านคน) คำนวณจาก 271.79 บาทต่อปชก.สิทธิ UC จำนวน 47.2397 ล้านคน NPP &Central Procurement (15.17) P&P Area based (58.41) P&P Expressed demand (125.64) บริหารแบบเขตบริการสุขภาพภายใต้ อปสข. Itemized 10 รายการ (31.79) Capitation (93.85) Area problem (18.41) กองทุน อปท. (40.00) Diff. by age group หักเงินเดือน หน่วย บริการ CUP

P&P Expressed Demand 1. จัดบริการ P&P : รายบุคคลตามชุดสิทธิประโยชน์ โดยหน่วยบริการ ซึ่งดำเนินการทั้งในและนอกหน่วย บริการ 2. การจัดสรรแบ่งออกเป็น 2 ส่วน 2.1 เหมาจ่ายรายหัว Capitation จัดสรรรายไตรมาส ( 25 %)หน่วยบริการรัฐนอกสังกัด สธ. /เอกชน จัดสรรพร้อม OP/IP 2.2 ตามผลการให้บริการ Itemization

P&P Expressed Demand (Capitation ) 1. การฝากครรภ์ 2. การตรวจหลังคลอด 3. การให้ภูมิคุ้มกันโรคในทุกช่วงอายุ 4. การดูแลสุขภาพและพัฒนาการตามวัยเด็ก 5. บริการวางแผนครอบครัว 6. การดูแลสุขภาพช่องปาก 7. บริการตรวจคัดกรองและการปรับพฤติกรรมสุขภาพทุกกลุ่มวัย 8. บริการให้สุขศึกษา ความรู้ คำแนะนำ 9. บริการส่งเสริมสุขภาพป้องกันปัญหาด้านสุขภาพจิต 10. บริการอนามัยโรงเรียน 11. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

P&P Expressed Demand (Itemization) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดการเข้าถึงบริการ P&P ที่จำเป็นอย่างเท่าเทียม 2. เพื่อให้เกิดคุณภาพการบริการ P&P และการดูแลอย่างต่อเนื่อง 3. เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพการจัดบริการ P&P เชิงรุกของหน่วยบริการปฐมภูมิ หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจ่ายชดเชย 1. ต้องมีการบันทึกข้อมูลการให้บริการรายบุคคลครบถ้วนตามที่กำหนด 2. ต้องมีระบบการกำกับ ติดตาม ประเมินผล รวมทั้งการตรวจสอบการให้บริการ ( Clinical & Financial Audit )

P&P Expressed demand – Itemized(1) กิจกรรม Total Target pop ราคากลาง (บาท) 1 ANC 329,963 (คน) ทุกสิทธิ •ANC ครั้งแรกอายุครรภ์<= 12 wk. 500 บาท/คน    * 131,985 (คน) เฉพาะสิทธิประกันสังคม (ส่งเงินไม่ครบ 7 เดือน) •ANC ครั้งแรกรายละ 1,200 บาท •ANC ครั้งต่อไปรายละ 400 บาท 2 PNC 516,942 (คน) ยกเว้นสิทธิ ขรก. • รายละ 150 บาท (ไม่รวมคัดกรองมะเร็งปากมดลูก) 3 FP* เฉพาะสิทธิประกันสังคม & สวัสดิการราชการ (ยาเม็ด = 183,661 คน, ยาฉีด = 41,995 คน, ห่วง = 1,622 คน, ยาฝัง = 585 คน) ยาเม็ด = 40 บาท, ยาฉีด = 60 บาท, ห่วง = 500 บาท , ยาฝัง = 2,200 บาท (ต่อคนต่อครั้ง) 4 ค่าฉีด Vaccine (ยกเว้น OPV) 10,359,009 (ครั้ง) ทุกสิทธิ 10 บาท/ dose(ครั้ง) (สำหรับค่าวัสดุการฉีด ส่วนวัคซีนเบิกจากสปสช.ตามระบบ VMI ) 5 TSH* 659,927 (ครั้ง) ทุกสิทธิ - ตรวจครั้งแรก140 บาท/คน (โดยใช้กระดาษซับ) TSH 6,599 (ครั้ง) ทุกสิทธิ - การตรวจยืนยัน 250 บาท/คน(โดยตรวจจากซีรั่ม) 6 การตรวจสุขภาพช่องปากในเด็กอายุ 6-12 ปี* ทุกสิทธิ - การตรวจฟัน ป.1, ป.3, ป.6 2,400,000 (คน) 7บาท/คน - เคลือบหลุมร่องฟัน(Sealant) ป.1,ป.6 เป้าหมาย 50 % ในเด็ก ป. 1 =400,000 คน เป้าหมาย 20 % ในเด็ก ป.6 =160,000 คน รวม 560,000 คนๆ 2 ซี่ 130 บาท/ชี่

P&P Expressed demand – Itemized(2) กิจกรรม Total Target pop ราคากลาง (บาท) 7 ตรวจคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยง 4 โรค * DM HT Stroke Obesity (confirm screening) 4,400,000 ทุกสิทธิ 50 บาท/คน 8 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรค * *DM,HT,Stroke,Obesity 200,000 < 2000 บาท/คน 9 คัดกรองมะเร็งปากมดลูก* เฉพาะ สิทธิ UC & SSS   - คัดกรองด้วยวิธี VIA 100,000 70 บาท/คน -จี้เย็น 3,000  160 บาท/คน -คัดกรองด้วยวิธี Pap Smear 1,991,600 250 บาท/คน 10 ตรวจคัดกรองและประเมินโรคซึมเศร้า 1.ประเมินภาวะซึมเศร้า (ด้วยแบบ 9 คำถาม เมื่อผลการคัดกรองด้วย 2 คำถาม+ve) 148,800 300 บาท/ราย 2. ประเมินการฆ่าตัวตายด้วยแบบ 8 คำถาม เมื่อคะแนนการประเมิน 9 คำถาม >=7) 3.ให้สุขภาพจิตศึกษาปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรมในรายที่ผล 9Q,8Q +ve และส่งต่อเพื่อการบำบัดรักษา

การบริหารจัดการแบบ Itemized ข้อมูลสำหรับจ่ายเงินใช้ จากระบบข้อมูล Individual data ที่มีอยู่ ได้แก่ 1. OP/PP individual record (ข้อมูล 18 แฟ้ม, 12+8 แฟ้ม) 2. E-Claim 3. PPIS (ระบบการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง) 4. Sealant Program (กองทันตฯ กรมอนามัย) 5. Pap-registry (กรมการแพทย์) 6. โปรแกรม Depression (กรมสุขภาพจิต) 7. แบบรายงานที่กำหนดโดย สปสช. ( TSH )

สำหรับการจ่าย itemized โปรแกรม สำหรับการจ่าย itemized ในรายการ 1. e - Claim ANC <= 12 wk. ANC ประกันสังคมส่งเงิน ไม่ครบ 7 เดือน PNC (สิทธิ UC & SSSส่งเงินไม่ครบ 7 เดือน FP ( CUP) 2. ข้อมูล 12 +8 และ 18 แฟ้ม FP ( สอ.) วัคซีน EPI (ยกเว้น OPV) 3. PPIS คัดกรองความเสี่ยง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ขั้นตอนการรับ-ส่งข้อมูลจาก โปรแกรม e-Claim ,PPIS,12+8 & 18 แฟ้ม สปสช (3) ส่งกลับข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง ไปยังหน่วยบริการ ผ่านweb หน่วยบริการ/สถานพยาบาล สำนัก IT (1) ส่งข้อมูล (1) เฉพาะข้อมูล 18 แฟ้ม (2) ส่งข้อมูล 18 แฟ้ม (6)โอนเงิน (3) ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ (4) ปฎิเสธการจ่าย สสจ. สำนักชดเชยฯ (4) ปฎิเสธการจ่ายผ่าน web (ไม่ ตรงตามเงื่อนไข ) (4) แจ้งจัดสรรค่าบริการ ( ตรงตามเงื่อนไข ) สำนักบริหารกองทุน (5)โอนงบประมาณตามผลงาน

หน่วยบริการตรวจสอบข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง การส่งกลับข้อมูลที่ไม่ผ่านการตรวจสอบเบื้องต้น (จากสำนัก IT) โปรแกรม หน่วยบริการตรวจสอบข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง (สำนัก IT ส่งกลับ) 1. e-Claim http://eclaim.nhso.go.th 2. PPIS http://ucapps.nhso.go.th/allpp/FrmLoginMain.jsp 3. 12+8 & 18 แฟ้ม http://www.nhso.go.th/opindiv/

สำหรับการจ่าย itemized โปรแกรมที่พัฒนา โดยกรมวิชาการ โปรแกรม สำหรับการจ่าย itemized ในรายการ 1. Sealant Program (กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย) การตรวจสุขภาพช่องปาก และ เคลือบหลุมร่องฟัน 2. Cervical Screening Program (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์) การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี Pap smear & VIA 3. โปรแกรมสารสนเทศการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าระดับจังหวัด (กรมสุขภาพจิต) การดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าใน ผู้สูงอายุที่มีโรคเรื้อรัง 4. TSH (กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์) การตรวจคัดกรอง TSH

ระยะเวลาการจ่ายชดเชยบริการ  รายการที่จัดส่งข้อมูลผ่านโปรแกรม e-claim จัดสรรเป็นรายเดือน(โอนงบให้หน่วยบริการโดยตรง) พร้อมข้อมูล OP/IP  รายการที่จัดส่งข้อมูลผ่านโปรแกรมต่างๆ จัดสรรเป็นรายไตรมาส (โอนงบผ่านสสจ.) (ยกเว้น ข้อมูลจาก Sealant Program จัดสรรผ่านสสจ.เป็นรายเดือน)

ตรวจสอบข้อมูลและจัดส่งแก่ แจ้งการจัดสรรแก่ สบก.ภายในวันที่ ระยะเวลาการตัดข้อมูล-ตรวจสอบและการจ่ายชดเชยค่าบริการ (รายไตรมาส) สำหรับโปรแกรมที่ดูแล&พัฒนาโดย สำนัก IT สปสช. ไตรมาสที่ สำนัก IT ตัดข้อมูลทุกโปรแกรม ในวันที่ ตรวจสอบข้อมูลและจัดส่งแก่ สำนักชดเชย ภายในวันที่ แจ้งการจัดสรรแก่ สบก.ภายในวันที่ สบก. จ่ายชดเชยค่าบริการ 1 (1ตค.52-31ธค. 52) 31ธค.52 20 มค.53 31 มค.53 15 กพ.53 2 (1มค.-31มีค.53) 31มีค.53 20 เมย.53 30 เมย.53 15 พค.53 3 (1เมย.-30มิย. 53) 30มิย.53 20 กค.53 31 กค.53 15 สค.53 4 (1กค.-30กย.53) 31 ตุค. 53 20 พย.53 30 พย.53 15 ธค.53

ระยะเวลาการรับ-ส่งข้อมูลและการจ่ายชดเชยค่าบริการ (รายไตรมาส) สำหรับโปรแกรมที่พัฒนาโดยกรมวิชาการ ไตรมาสที่ กรมวิชาการ ตัดข้อมูล&ส่งสำนัก IT สปสช. สำนัก IT* ตรวจสอบ (รับ-ส่ง)ข้อมูลและจัดส่งแก่ สำนักชดเชย ภายในวันที่ แจ้งการจัดสรรแก่ สบก.ภายในวันที่ สบก.** โอนเงินภาย ในวันที่ 1 (1ตค.52-31ธค. 52) 10 มค.53 20 มค.53 31 มค.53 15 กพ.53 2 (1มค.53-31มีค.53) 10 เมย.53 20 เมย.53 30 เมย.53 15 พค.53 3 (1เมย.53-30มิย. 53) 10 กค.53 20 กค.53 31 กค.53 15 สค.53 4 (1กค.53-30กย.53) 10 พย.53 20 พย.53 30 พย.53 15 ธค.53 * สำนัก IT ตรวจสอบข้อมูลจากกรมและส่งกลับข้อมูลที่ไม่ถูกต้องภายในวันที่ 15 มค. 15 เมย. 15 กค. & 15 พย.53 ** ยกเว้น ข้อมูลจาก sealant program โอนงบประมาณเป็นรายเดือน

(58.41 บาทต่อหัวปชก.ทุกสิทธิ 4,797,642 คน) PPA (58.41 บาทต่อหัวปชก.ทุกสิทธิ 4,797,642 คน) PPA 2 : 18.41 บ./ปชก.(31.52%) PPA 1 : 40 บ./ปชก.(68.48%) จว. 13.41 บ./ปชก. 64,336,379.22 บาท PPA เขต 0.60 บาท/ปชก. 2,878,585.20 บาท คณะทำงานเขต 4.40บาท/ปชก. 21,109,624.80 บาท กองทุน อปท. (40.00) แก้ไขปัญหา จว 12.41 บาท/ปชก. 59,538,737.22บาท รณรงค์ P&P 0.40 บาท/ปชก. 1,919,056.80 บาท พัฒนาองค์กรภาคี 0.40บาท/ปชก. 1,919,056.80 บาท คทง.PP 4.00บาท/ปชก. 19,190,568.00 บาท ไอโอดีน ไตวาย มะเร็งตับ ทันตฯ เบาหวาน จัดสรรตามผลงาน 1.00 บาท/ปชก. 4,797,642 บาท ประเมินผล 0.20บาท/ปชก. 959,528.40 บาท

P&P Area – based แนวคิดและหลักการ วัตถุประสงค์ 1. ดำเนินการภายใต้หลักเกณฑ์ เงื่อนไขการจัดสรรโดย อปสข. เน้นการกระจายอำนาจการบริหารจัดการในระดับพื้นที่ 2. เป็นการดำเนินงานร่วมกันระหว่าง สปสช. เขต และ เขตตรวจราชการสาธารณสุข ภายใต้รูปแบบคณะกรรมการระดับเขต โดยการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐ ท้องถิ่น เอกชน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนในระดับจังหวัดและเขต 2. เพื่อสนับสนุนและจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 3. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน กระตุ้นให้หน่วยบริการจัดบริการเชิงรุกในชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นและชุมชนให้ประชาชนเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ 4. เพื่อกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน ให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด

P&P Area – based แนวทางการจัดสรร เป็นการจัดสรร Global ระดับเขต (สปสช.) 1. จัดสรร 40 บาท/ปชก. เพื่อสนับสนุนการจัดตั้งกองทุนฯตำบล 2. จัดสรร 18.41 บาท/ปชก. และส่วนที่เหลือจากการจัดสรรจัดตั้งกองทุนฯ แก่หน่วยบริการ หน่วยงานหรือองค์กรที่ดำเนินงาน P&P และ สปสช. สาขาจังหวัด โดยใช้ประชากรทุกสิทธิ ณ 1 ก.ค. 52 คำนวณ ดังนี้ - สิทธิ UC และ SSS ข้อมูลลงทะเบียน - สิทธิสวัสดิการ ขรก. ข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ขั้นตอนการจัดสรร รอบแรก 1. สปสช. แจ้งยอดจัดสรรภายใน ส.ค. 52 เขตทำแผนการจัดสรรงบประมาณภายในสิ้น ต.ค. 52 ในส่วน 18.41 บาท/ปชก. 2. ส่วนกองทุนฯตำบลเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของภาคี (ส่งยอดกองทุนภายใน พ.ย. 52) รอบสอง งบเหลือจัดสรรกองทุนฯตำบล เขตจัดทำแผนการจัดสรรงบรอบสองภายใน ธ.ค. 52

P&P Area – based ขอบเขตกิจกรรม 1. แก้ไขปัญหาด้านสุขภาพในพื้นที่ 2. ดำเนินการส่งเสริม สนับสนุน กระตุ้นหน่วยบริการจัดบริการเชิงรุกเพื่อให้ ปชช. เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ 3. สนับสนุนและแก้ไขปัญหาเพื่อให้บรรลุตามตัวชี้วัดหรือนโยบายด้าน P&P 4. การจัดซื้อครุภัณฑ์ที่จำเป็นสำหรับงาน P&P ไม่เกิน 10% ของงบประมาณที่หน่วยงานได้รับและต้องเสนอ อปสข. เพื่อพิจารณาเห็นชอบ 5. กิจกรรมที่ห้ามดำเนินการ ได้แก่ การศึกษาดูงาน การจัดซื้อ จัดหาที่ดิน สิ่งก่อสร้าง

จัดโครงสร้างงบ PPA (18.41 บ./ปชก.) แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้ แก้ไขปัญหา สธ. ระดับจังหวัด 13.41 บ./ปชก. โดย จัดสรรให้เป็น Global จังหวัด ดำเนินการแก้ไขปัญหา ระดับจังหวัด และจ่ายตามผลงาน การรรณงค์และติดตามประเมินผล 0.60 บ./ปชก. บริหารจัดการ โดย สปสช. เขต แก้ไขปัญหา สธ. ระดับเขต 4.40 บ./ปชก. เน้นการPrevention ในกลุ่มเป้าหมายหลัก ดำเนินการภายใต้คทง.แต่ละด้าน

การกำกับติดตามประเมินผล P&P 1. แผนการจัดสรร/การเบิกจ่ายงบประมาณ 2. ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด(Composite Indicator) 3. การกำกับติดตาม การดำเนินงานเขต/จังหวัดโดยคณะทำงานร่วม สปสช. และ สธ. 4. Audit (Financial & Quality)

ที่ไม่หลับหรือหลับแต่ไม่กรน ขอขอบคุณ ที่ไม่หลับหรือหลับแต่ไม่กรน สวัสดี