Chapter 1 : Introduction to Database System
วัตถุประสงค์ ทราบถึงวิวัฒนาการในการจัดการข้อมูล สามารถบอกโครงสร้างแฟ้มข้อมูล ชนิดของข้อมูลประเภทต่าง ๆได้ สามารถบอกประเภทของแฟ้มข้อมูล และวิธีการจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูลได้ เข้าใจหลักการทำงานของระบบแฟ้มข้อมูล และบอกข้อดี/ข้อเสียได้ เข้าใจหลักการทำงานของระบบฐานข้อมูล และบอกข้อดี/ข้อเสียได้ ทราบถึงความสำคัญและหน้าที่การทำงานของ DBMS บอกส่วนประกอบของสภาพแวดล้อมของ DBMS ได้ หนังสือวิชาคอมพิวเตอร์และนำมาดัดแปลงเพื่อใช้ในการทำรายงานครั้งนี้
บทบาทฐานข้อมูล การใช้ชีวิตประจำวัน เราสัมพันธ์กับ Database อะไรบ้าง?
บทบาทฐานข้อมูล ฐานข้อมูล (Database) มีบทบาทสำคัญมากต่องานด้านต่างๆ โดยเฉพาะงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ เช่น - งานด้านธุรกิจ - งานด้านวิศวกรรม - ด้านการแพทย์ - การศึกษา - วิทยาศาสตร์ ฯลฯ เพื่อทำการจัดการข้อมูลอย่างมีระบบ
ภายในองค์กร ย่อมได้เปรียบในเชิงแข่งขันด้านการค้า บทบาทฐานข้อมูล หากหน่วยงานใดได้มีการนำเทคโนโลยีฐานข้อมูลมาใช้งาน ภายในองค์กร ย่อมได้เปรียบในเชิงแข่งขันด้านการค้า หมายถึง พัฒนาฐานข้อมูลเพื่อใช้ในองค์กรด้วยการนำข้อมูลมารวบรวมไว้อย่างเป็นระบบและจัดเก็บลงในฐานข้อมูล สามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ประโยชน์ การเข้าถึงฐานข้อมูลเพื่อเรียกดูข้อมูล การนำเสนอรายงานได้ทันท่วงที การจัดการกับระบบความปลอดภัยในฐานข้อมูล การนำข้อมูลมาวิเคราะห์
ข้อมูลและสารสนเทศ (Data Versus Information) ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริง วัตถุ หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น กล่าวคือ เป็นข้อมูลดิบ (Row Data) ที่ยังไม่ได้ผ่านการประมวลผล สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว และสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์
ข้อมูล (Data)
สารสนเทศ (Information)
สารสนเทศ (Information)
ฐานข้อมูลกับการดำเนินชีวิตประจำวัน (Database and Day-to-Day Life) การซื้อสินค้าในซูเปอร์มาร์เก็ต เดิม เหลือ 8 7 7 6 แซมพู 65 นมจืด 39 รวม 104 แซมพู 65
การจัดการข้อมูล (Data Management)
โครงสร้างแฟ้มข้อมูล (File Structure) Record Record Record Field Field Field Byte Byte Bit Bit
โครงสร้างแฟ้มข้อมูล บิต(bit) : ประกอบไปด้วยเลขฐานสอง ใช้แทนค่าหน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูลคอมพิวเตอร์ โดยหน่วยที่ใช้จะมีค่า 0 และ 1 เท่านั้น ไบต์(byte) : คือการนำเอาบิตหลาย ๆ บิตมาเรียงต่อกัน ตัวอย่างเช่น 1 ไบต์มี 8 บิต ก็คือการนำเอาเลข 0 กับ 1 มาเรียงต่อกัน 8 ตัวจนครบ 1 ไบต์ เพื่อให้ได้อักขระหนึ่งตัว เช่น 01000001 คือ เลขฐานสองที่มี 8บิตเป็นรหัสแทนตัว A ดังนั้น 1 ไบต์ แทนข้อมูลได้ 28 หรือ 256 อักขระ
โครงสร้างแฟ้มข้อมูล ฟิลด์(field) : คือการนำเอาอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไปมารวมกันเพื่อให้เกิดความหมาย เช่น ฟิลด์ std_name ใช้เก็บข้อมูลนักศึกษา ฟิลด์ salary ใช้เก็บข้อมูลเงินเดือน เป็นต้น เรคอร์ด(record) : คือกลุ่มของฟิลด์ที่สัมพันธ์กัน เช่น ในหนึ่งเรคคอร์ดประกอบด้วยฟิลด์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นชุด เช่น เรคคอร์ดประวัตินักศึกษา ประกอบด้วย - ฟิลด์ - รหัสนักศึกษา - ชื่อ-สกุล - ที่อยู่ , จังหวัด ,เบอร์โทรศัพท์
โครงสร้างแฟ้มข้อมูล ไฟล์(file) : คือกลุ่มของเรคคอร์ดที่สัมพันธ์กันเช่น แฟ้มประวัตินักศึกษา จะประกอบด้วยเรคคอร์ดของนักศึกษาทั้งหมดในมหาวิทยาลัย ดังนั้นหนึ่งไฟล์จะต้องมีอย่างน้อยหนึ่งเรคคอร์ด เพื่อใช้การใช้งานข้อมูล เป็นต้น
สรุปโครงสร้างแฟ้มข้อมูล bit หน่วยที่เล็กที่สุดในการเก็บข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ byte กลุ่มของ bit ซึ่ง 8 bits = 1 byte field หน่วยเก็บข้อมูลที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เก็บค่าที่ต้องการ record กลุ่มของ fields ที่เกี่ยวข้องกัน file กลุ่มของ records หน่วยในการเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
สรุป ในบทนี้ได้กล่าวถึงวิวัฒนาการการจัดการข้อมูล ความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างแฟ้มข้อมูล ชนิดข้อมูล ประเภทของแฟ้มข้อมูล การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล (File Organization) ระบบแฟ้มข้อมูล (File Based System) ระบบฐานข้อมูล (Database System) ระบบการจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) ส่วนประกอบของสภาพแวดล้อมใน DBMS ซึ่งประกอบไปด้วยฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล และบุคลากร
บรรณานุกรม www.google.com/wikipedia ฐานข้อมูล