บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม
ความหมายและลักษณะของจริยธรรม คุณธรรม คุณงามความดี จริยะ ความประพฤติกิริยาควรประพฤติ จริยธรรม ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม กฎศีลธรรม
ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมกับกฎหมาย จริยธรรมเป็นเครื่องมือควบคุมพฤติกรรมในระดับสูงของมนุษย์แต่เป็นการลงโทษทางสังคม ส่วนกฎหมายนั้นเป็นเครื่องมือที่ควบคุมพฤติกรรมในระดับต่ำของมนุษย์และบทลงโทษสำหรับผู้ฝ่าฝืนอย่างชัดเจน
ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมกับกฎหมาย ด้านจริยธรรม ด้านกฎหมาย 1.เป็นเครื่องมือควบคุมพฤติกรรมระดับสูงของมนุษย์ 1.เป็นเครื่องมือควบคุมพฤติกรรมระดับต่ำของมนุษย์ 2.ไม่มีลงโทษตามกฎหมายแต่ลงโทษโดยสังคม 2.มีบทลงโทษที่ชัดเจน 3.เป็นการควบคุมพฤติกรรมจากภายใน 3.เป็นการควบคุมพฤติกรรมจากภายนอก 4.เป็นข้อบังคับจากสังคมที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร 4.เป็นข้อบังคับจากรัฐที่เป็นลายลักษณ์อักษร 5.เป็นเรื่องของจิตสำนึกที่ทำเพราะเห็นว่าถูกต้องและภูมิใจที่ได้ทำ 5.เป็นบทบัญญัติว่าด้วยต้องทำหรือต้องละเว้นไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้
จริยธรรมในทางสังคมวิทยา สังคมวิทยา จริยธรรมถูกกำหนดโดยจารีตประเพณี วัฒนธรรมและบรรทัดฐานของสังคม อันเกิดขึ้นได้โดยการอบรมขัดเกลาทางสังคม วัฒนธรรม แบบแผนในการดำเนินชีวิตของคนในสังคม ซึ่งมีการยืดถือปฏิบัติสืบทอดกันมา แต่ละสังคมจะมีวัฒนธรรมแตกต่างกันออกไป
จริยธรรมในทางสังคมวิทยา ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อหรือการกระทำที่ปฏิบัติสืบทอดกันมาจากชนรุ่นหนึ่งมาสู่ชนอีกรุ่นหนึ่งในสังคมโดยเห็นว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้องและดีงาม บรรทัดฐาน มาตรฐานการปฏิบัติตามบทบาทและสถานภาพที่บุคคลมีในขณะใดขณะหนึ่ง
การประยุกต์ใช้แนวคิดเกี่ยวกับจริยธรรม การอบรมหรือการขัดเกลาทางสังคม เป็นกระบวนการปลูกฝังบรรทัดฐานของกลุ่มให้เกิดขึ้นในตัวบุคคล เพื่อให้บุคคลนั้นสามารถอยู่ร่วมกับกลุ่มที่ตนเป็นสมาชิกได้หรือทำงานกับผู้อื่นและปฏิบัติตัวอย่างถูกต้องในสายตาของสังคม
จริยธรรมทางสังคมวิทยา จารีต ประเพณี วัฒนธรรม บรรทัดฐาน กระบวนการอบรมหรือขัดเกลาทางสังคม ครอบครัว โรงเรียน เพื่อน สื่อมวลชน สังคม,ศาสนา
ยุคแห่งความรู้กับปัญหาการไร้จริยธรรม ความก้าวหน้าของของเทคโนโลยี ความมั่งคั่ง ปัญหา แสวงหาช่องว่างทางกฎหมายเพื่อเอาเปรียบผู้ที่อ่อนแอกว่า ปัญหาทางสังคม - การวางงาน - ละเมิดสิทธิส่วนบุคลคล - อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ
หลักธรรมขั้นพื้นฐานในการบริหาร สังคหวัตถุ 4 เป็นหลักธรรมที่ใช้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ ทำให้เกิดความรัก สามัคคี มีน้ำใจต่อกันและสามารถอยู่ร่วมกันได้ด้วยความ เข้าใจ สังคหวัตถุ 4 ประกอบด้วย 1.ทาน คือ การให้ การเสียสละแบ่งปัน ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่ผู้อื่น 2.ปิยวาจา คือ การพูดจาที่สุภาพ 3.อัตถจริยา คือ การแสดงพฤติกรรหรือความประพฤติที่เป็นประโยชน์ต่อบุคคลอื่น 4.สมานัตตา คือ การทำตนให้มีความเสมอต้นเสมอปลายปฏิบัติตนอย่างสม่ำเสมอ
หลักธรรมขั้นพื้นฐานในการบริหาร พรหมวิหาร 4 หลักความประพฤติที่ประเสริฐที่สุดเหมาะสมที่จะนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตและการบริหารธุรกิจสำหรับนักบริหาร พรหมวิหาร 4 ประกอบด้วย 1.เมตตา คือ ความรัก ความปรารถนาที่จะให้ผู้อื่นได้รับความสุข 2.กรุณา คือ การคิดที่จะช่วยให้ผู้อื่นนั้นพ้นจากความทุกข์ 3.มุทิตา คือ ความยินดีต่อผู้อื่น 4.อุเบกขา คือ การวางเฉย
หลักธรรมขั้นพื้นฐานในการบริหาร อริยสัจ 4 เป็นหลักความจริง 4 ประการ ประกอบด้วย 1.ทุกข์ เป็นความกลัว 2.สมุทัย เหตุแห่งทุกข์ 3.นิโรธ ความดับทุกข์ 4.มรรค หนทางนำไปสู่ความดับทุกข์
หลักธรรมขั้นพื้นฐานในการบริหาร อิทธิบาท 4 เป็นหลักธรรมที่จะช่วยให้บุคคลไปถึงผลสำเร็จได้ตามประสงค์ บุคคลที่หวังความสำเร็จในการดำเนินชีวิตหรือการทำงานจึงต้องกระทำตนโดยประพฤติปฏิบัติให้สมบูรณ์ อิทธิบาท 4 ประกอบด้วย 1.ฉันทะ ความพอใจในสิ่งที่ตนมีอยู่ 2.วิริยะ ความเพียรพยายาม 3.จิตตะ ความไม่ทอดทิ้งสิ่งนั้นไปจากความรู้สึกของตนเอง 4.วิมังสา ความหมั่นตริตรองพิจารณาหาเหตุผลในงานที่ทำ
เครื่องชี้วัดการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีระดับองค์กร หลักการบริหารจัดการที่ดี 10 หลัก เรียกว่า ทศธรรม มีดังนี้ 1.หลักนิติธรรม 6.หลักความคุ้มค่า 2.หลักคุณธรรม 7.หลักการจัดการทรัพยากรมนุษย์ 3.หลักความโปร่งใส 8.หลักการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ 4.หลักการมีส่วนร่วม 9.หลักการบริหารจัดการ 5.หลักความรับผิดชอบ 10.หลักการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร