การเตรียมความพร้อมกับการรองรับ การตรวจคุณภาพระบบใหม่ของห้องปฏิบัติการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การเขียนผลงานวิชาการ
โครงการนำเสนออย่างไรให้จูงใจสถานประกอบการ
เพื่อทบทวนระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
ประชุมคณะกรรมการตรวจรับงานฯ คณะที่ปรึกษาโครงการ AM/FM/GIS
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
เพื่อรับการประเมินภายนอก
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
แนวทางการปฏิบัติงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
การประชุมคณะกรรมการประจำคณะแพทยศาสตร์ ครั้งที่ 13/2551
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
หมวด2 9 คำถาม.
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ผลการประเมินการดำเนินงาน 46
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางปฏิบัติและการเตรียมความพร้อม การถ่ายโอนภารกิจ
“ประเมินสมรรถนะ Online”
1 ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.
กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
1. ผู้บริหารและคณะกรรมการชุด ต่างๆ มีความมุ่งมั่นในการจัดทำ ระบบบริหารคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ใน ระบบบริหารคุณภาพอย่างสม่ำเสมอ.
ANATOMIC PATHOLOGY PATHOLOGIC ANATOMY MORBID PATHOLOGY
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
การถอดบทเรียน หลังจากการดำเนินกิจกรรมโครงการ เสร็จสิ้นแล้ว
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
การ Reaccredit มาตรฐานงานสุขศึกษา
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
SWOT งานการเงินและบัญชี
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
ข้อคำถามที่ 1 จงตอบคำถามต่อไปนี้
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
 จัดเก็บ บริหาร บันทึกการ ฝึกอบรม ความต้องการ การฝึกอบรม การวางแผนการ ฝึกอบรม การมอบหมาย งาน   บริหารจัดการบันทึก สภาพแวดล้อมทั้ง  อุณหภูมิ ความชื้น.
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
 โครงการเป็นเครื่องมือในการบริหารงานและ พัฒนาองค์กร และเป็นการแปลงแผนแม่บทไปสู่ การปฏิบัติ
ขั้นตอนการเดินทางของเอกสาร
การถอดบทเรียน หลังจากการดำเนินกิจกรรมโครงการ เสร็จสิ้นแล้ว
คุณค่าคนทำงาน คือการทำงานให้มี คุณภาพ ตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการทั้งภายนอกและ ภายในตามมาตรฐานวิชาชีพ เป้าหมายของการทำงาน คือ การ ให้บริการที่มี
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
นโยบายและแนวคิด โรงพยาบาลคุณธรรม.
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
แผนการดำเนินงาน หน่วยงานการพยาบาลวิสัญญี
การสัมมนาเพื่อจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือแพทย์
สรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์และ วิธีการประเมินเพื่อเปลี่ยนสถานภาพ เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย (ตามประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อ.
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเตรียมความพร้อมกับการรองรับ การตรวจคุณภาพระบบใหม่ของห้องปฏิบัติการ Logo

Scope ทำไมต้องมีการตรวจประเมิน ราชวิทยาลัยฯ ไปตรวจใครบ้าง สมาคมเซลล์วิทยาตรวจใครบ้าง ขั้นตอนการตรวจประเมิน วิธีการตรวจประเมิน คุณสมบัติของผู้ตรวจประเมิน ผลการตรวจ และการแก้ไข การรับรองห้องปฏิบัติการ MOU ระหว่างราชวิทยาลัยฯ และ สถาบันรับรองคุณภาพฯ

1. ทำไมต้องมีการประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการ

Quality of laboratory

Quality of laboratory

Quality of laboratory

Quality of laboratory

Quality of laboratory

Quality of laboratory

2. ราชวิทยาลัยฯ ไปตรวจใครบ้าง 2. ราชวิทยาลัยฯ ไปตรวจใครบ้าง

สถาบัน/มหาวิทยาลัยที่มีการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน โรงพยาบาลที่มีพยาธิแพทย์ Anatomical Pathology Clinical Pathology Forensic Medicine

3. สมาคมเซลล์ฯ ไปตรวจใครบ้าง

โรงพยาบาลที่ไม่มีพยาธิแพทย์แต่มีหน่วยบริการทางเซลล์วิทยา

4. ขั้นตอนการตรวจประเมิน

ขั้นตอนการตรวจประเมิน หน่วยงานแสดงความจำนงขอรับการตรวจประเมิน ราชวิทยาลัยฯ ส่งแบบประเมินตนเอง, แบบข้อมูลทั่วไปของหน่วยงาน และคู่มือการขอรับการตรวจประเมินให้หน่วยงาน ราชวิทยาลัยฯ และ หน่วยงานกำหนดวันตรวจประเมิน หน่วยงานส่งแบบประเมินตนเอง และข้อมูลทั่วไปของหน่วยงานให้ราชวิทยาลัยก่อนวันตรวจประเมิน อย่างน้อย 3 สัปดาห์ กรรมการตรวจประเมินเดินทางไปยังหน่วยงานที่ขอรับการตรวจประเมิน

5. วิธีการตรวจประเมิน

แบบประเมินตนเอง (พยาธิวิทยากายวิภาค) พยาธิวิทยาส่วนกลาง ข้อกำหนดด้านบริหารจัดการคุณภาพ ข้อกำหนดด้านวิชาการ ห้องปฏิบัติการ surgical pathology ห้องปฏิบัติการ histology laboratory ห้องปฏิบัติการ immunohistochemical laboratory ห้องปฏิบัติการ Electron microscopy

แบบประเมินตนเอง (พยาธิวิทยากายวิภาค) ห้องปฏิบัติการ immunofluorescence ห้องปฏิบัติการ Flow/molecular ห้องปฏิบัติการ FISH/ISH ห้องปฏิบัติการ cytology ห้องปฏิบัติการ autopsy

แบบประเมินตนเอง (พยาธิวิทยากายวิภาค)

เป้าหมายของการตรวจประเมิน ยืนยันผลการประเมินตนเอง ประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐาน ประเมินจุดแข็ง จุดอ่อน และกระตุ้นให้เห็นโอกาสพัฒนา

คำถามหลักในการตรวจประเมิน มีการจัดระบบงานเหมาะสมหรือไม่ มีการปฏิบัติตามกระบวนการที่กำหนดไว้หรือไม่

คำถามหลักในการตรวจประเมิน กระบวนการที่กำหนดนั้นทำได้ดีหรือไม่ มีความสำเร็จอะไรบ้าง มีปัจจัยเกื้อหนุนอะไร มีการติดตามดัชนีชี้วัดอะไร มีการใช้ประโยชน์จากดัชนีชี้วัดอย่างไร

คำถามหลักในการตรวจประเมิน มีการปรับปรุงการปฏิบัติงานหรือไม่ ปัญหาและการแก้ไขที่ได้ดำเนินการไปแล้วมีอะไรบ้าง ยังเหลือปัญหาอะไร และมีแผนการดำเนินการต่อไปอย่างไร

6. คุณสมบัติของผู้ตรวจประเมิน

คุณสมบัติของผู้ตรวจประเมิน เป็นสมาชิกของราชวิทยาลัยฯ มีประสบการณ์วิชาชีพอย่างน้อย 10 ปี และมีประสบการณ์ในการพัฒนาคุณภาพหรือให้คำปรึกษาด้านการพัฒนาคุณภาพ ผ่านหลักสูตรการอบรมผู้ตรวจประเมินของราชวิทยาลัยฯ ได้สังเกตุการณ์การตรวจประเมินอย่างน้อย 2 ครั้ง ได้รับการยินยอมจากองค์กรต้นสังกัด

7. ผลการตรวจ และการแก้ไข

ผลการตรวจประเมิน กรรมการตรวจประเมิน สรุปผลการตรวจประเมินด้วยวาจาแก่หน่วยงาน กรรมการฯ ส่งรายงานเป็นลายลักษณ์อักษรให้ราชวิทยาลัยฯภายใน 5 วันทำการ ราชวิทยาลัยฯ ทำหนังสือแจ้งผลการตรวจประเมินเป็นลายลักษณ์อักษรมายังหน่วยงาน

การแก้ไข ในกรณีที่ต้องดำเนินการแก้ไขตามคำแนะนำของกรรมการต้องดำเนินการ ให้แล้วเสร็จ ใน 90 วันนับจากวันที่หนังสือถูกส่งโดยราชวิทยาลัยฯ

การแก้ไข หน่วยงานดำเนินการแก้ไขตามที่กรรมการแนะนำและส่งหลักฐานการแก้ไข มายังราชวิทยาลัยเพื่อให้กรรมการตรวจประเมินพิจารณา

การแก้ไข กรรมการตรวจประเมินให้การรับรองและทำรายงานส่งให้กรรมการบริหาร ราชวิทยาลัยฯ ทำการรับรอง และออกประกาศนียบัตรให้แก่หน่วยงาน

Time lines

8. การรับรองห้องปฏิบัติการ

รับรองคุณภาพห้องปฏิบัติการเป็นเวลา 5 ปี ทำรายงานประเมินตนเอง ส่งมายังราชวิทยาลัยฯ ทุก 2 ปี

ราชวิทยาลัยฯ และ สถาบันรับรองคุณภาพฯ 9. MOU ระหว่าง ราชวิทยาลัยฯ และ สถาบันรับรองคุณภาพฯ

Questions ?

Logo