ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดปราจีนบุรี
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สวัสดีครับ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
ประชาชน ภาคี กระบวนการ รากฐาน
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปกิจกรรมการประชุมวันที่ 6 ตุลาคม 2553
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
วัยรุ่นมีพฤติกรรมที่เหมาะสม หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมที่เหมาะสม
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
นโยบายด้านบริหาร.
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555 ระดับประชาชน ชุมชนมีระบบเฝ้าระวังโดยชุมชน ชุมชนมีมาตรการทางสังคมด้านสุขภาพของชุมชน ชุมชนมีแผนงานโครงการโดยชุมชน ประชาชนลดละเลิกอบายมุข ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ปฏิบัติตัวด้านสุขภาพถูกต้องดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ครอบครัวอบอุ่น มีความรักสามัคคี เอื้ออาทรต่อกัน ประชาชนมีบทบาทสร้างช่องทางเข้าถึงระบบบริการสุขภาพอย่างทั่วถึง ระดับภาคี อปท. แสดงบทบาท ให้ความร่วมมือและสนับสนุนงบประมาณ หน่วยงานภาครัฐ เปิดใจ รับฟังความเห็นและส่งเสริมวิชาการอย่างต่อเนื่อง ภาคเอกชน มีศักยภาพและความเข้มแข็งในการดำเนินงานสุขภาพ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเข้มแข็งและสนับสนุนการดำเนินงานด้านสุขภาพ ระดับกระบวนการ มีการบริหารงานโดยหลักธรรมาภิบาล มีระบบการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ดี ครอบคลุมทุกพื้นที่ มีการพัฒนาระบบบริการสุขภาพเชิงรุกให้มีคุณภาพ สถานบริการสุขภาพมีมาตรฐาน มีระบบการติดตาม ควบคุมกำกับและประเมินผลที่ชัดเจน ต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ มีกลไกการประสานงานที่ดี มีการบูรณาการแผนการดำเนินงานด้านสุขภาพร่วมกันทุกภาคส่วน ระดับรากฐาน มีวัฒนธรรมองค์กรที่ดี มีระบบข้อมูลข่าวสารถูกต้อง ทันสมัย เป็นปัจจุบัน มีบุคลากร แกนนำ มีศักยภาพ และมีขวัญกำลังใจในการทำงาน มีการทำงานเป็นทีม

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555 ปรับเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2552 ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย การออกกำลังกายที่ถูกต้องเหมาะสม การเสริมสร้างสุขภาพใจ การรักษาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อเอดส์ การลดละเลิกอบายมุข เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด ที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ อุบัติภัย การดูสุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชนที่เหมาะสมตามกลุ่มวัย ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ส่งเสริมการจัดประชาคมหมู่บ้าน ส่งเสริม สนับสนุนการใช้มาตรการทางสังคม ส่งเสริมการพัฒนาองค์ความรู้ด้านกฎหมายและ สุขภาพให้แก่ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังอย่างมี ประสิทธิภาพ -พัฒนาศักยภาพแกนนำชุมชน ส่งเสริมการจัดระบบเฝ้าระวังในชุมชน -ส่งเสริมการพัฒนาระบบเตือนภัยในชุมชน ชุมชนมีแผนงาน/โครงการโดยชุมชน ส่งเสริมการจัดเวทีประชาคม ส่งเสริมการเรียนรู้การจัดทำแผนนของชุมชน สนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน เสริมสร้างขวัญกำลังใจ ประชาชน อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง -การเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดี -การเสริมสร้างองค์ความรู้และบทบาทด้านสุขภาพ -การส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานกิจกรรม -พัฒนาระบบการจัดทำข้อตกลงร่วมกัน หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง -การเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดี -การเสริมสร้างองค์ความรู้และบทบาทด้านสุขภาพ -การส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานกิจกรรม -พัฒนาระบบการจัดทำข้อตกลงร่วมกัน กลุ่มองค์กรภาคีเครือข่ายทั้งในและนอกชุมชนมีบทบาท -การเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดี -การเสริมสร้างองค์ความรู้และบทบาทด้านสุขภาพ -การส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานกิจกรรม -พัฒนาระบบการจัดทำข้อตกลงร่วมกัน ภาคี ระบบสื่อสารและประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพ -พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ -พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการสื่อสาร -การพัฒนาช่องทางการสื่อสารประชาสัมพันธ์ ระบบบริหารจัดการองค์กรและ ภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ -ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน -พัฒนาระบบการตรวจสอบ -พัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใน และภายนอกองค์กร ระบบการประสานงานที่ดี -พัฒนาระบบการประสานงานความร่วมมือ -พัฒนาศักยภาพบุคลากร -พัฒนาระบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบการบริการสุขภาพมีคุณภาพมาตรฐาน -พัฒนาบุคลากร -ส่งเสริมการการพัฒนาสถานบริการสุขภาพ -ส่งเสริมการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพ กระบวนการ องค์กรมีวัฒนธรรมและบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงาน -จัดระบบการบริหารจัดการโดยหลักธรรมาภิบาล -การพัฒนาศักยภาพองค์กร -ส่งเสริมการสร้างสุขภาวะในองค์กร ระบบข้อมูลครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย เป็นปัจจุบัน - พัฒนาระบบการบริหารจัดการฐานข้อมูล -พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ -การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม -พัฒนาระบบการพัฒนาศักยภาพบุคลากรอย่างเป็นระบบ -พัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล -ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต พื้นฐาน

ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) การจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555 ปรับเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2552 ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ประชาชน ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ชุมชนมีแผนงาน/โครงการโดยชุมชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังอย่างมี ประสิทธิภาพ อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่มองค์กรภาคีเครือข่ายทั้งในและนอกชุมชนมีบทบาท ภาคี หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ระบบสื่อสารและประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพ ระบบการประสานงานที่ดี ระบบการบริการสุขภาพมีคุณภาพมาตรฐาน กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ ระบบข้อมูล ครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย เป็นปัจจุบัน องค์กรมีวัฒนธรรมและบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงาน พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม

ความหมายของกิจกรรมในแต่ละมุมมองของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ หมายถึง กิจกรรมที่เราหรือภาคีไปส่งเสริม สนับสนุน หรือพัฒนา เพื่อให้ประชาชนและชุมชนได้ออกมาแสดงบทบาทของตนเอง ประชาชน หมายถึง กิจกรรมที่เราต้องไปสนับสนุน ส่งเสริม เพื่อให้ภาคีมีการดำเนินกิจกรรม สนับสนุน ส่งเสริม พัฒนาบทบาทชุมชน ประชาชนหรือร่วมดำเนินการกับเราในการสนับสนุน ส่งเสริมพัฒนาบทบาทชุมชน ประชาชน ภาคี หมายถึง กิจกรรมการบริหารจัดการ หรือดำเนินการในส่วนที่เป็นบทบาทของเรา เช่น การพัฒนาระบบบริการ การให้บริการและ กิจกรรมอื่นๆ เพื่อส่งผลให้เกิดการร่วมมือจากภาคี กระบวนการ หมายถึง ตัวเรา ทีมงานของเรา บุคลากรในงานเรา บุคลากรในองค์ คือ สสจ. เท่านั้น ว่าควรมีศักยภาพในเรื่องที่จะทำอย่างไร มีข้อมูล/องค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่จะทำเพียงพอหรือไม่ และวัฒนธรรมการทำงานของทีมงาน องค์กรเหมาะสมที่ทำให้งานที่ทำสำเร็จได้หรือไม่ พื้นฐาน