"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Center of Mass and Center of gravity
Advertisements

Graphic Design for Video
สนามกีฬา.
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
น้ำหนักแสงเงา.
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
เรื่อง น้ำหนัก, แสง-เงา โดย สุภา จารุภูมิ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
การเขียนหุ่นนิ่งทั่วไป
การเขียนรูปร่าง รูปทรงเรขาคณิต
เรื่อง องค์ประกอบศิลป์ โดย นายสมพงษ์ ถาวรโชติวงศ์ โรงเรียนเบญจมราชาลัย
สื่อการเรียนเรขาคณิต
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
COMPOSITION องค์ประกอบศิลป์.
สื่อประกอบการเรียนรู้
ยินดีต้อนรับสู่ Visual Art Online
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
รูปร่างและรูปทรง.
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
การพัฒนาเว็บ.
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
องค์ประกอบ Graphic.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
การสร้างงานกราฟิก.
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
ค่าสุดขีดและจุดอานม้า Extreme Values and Saddle Points
จงหาค่าอินทิกรัลสามชั้นของ.
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
Application of Graph Theory
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
ระบบอนุภาค.
3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
บทที่ 4 องค์ประกอบศิลป์.
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
หลักศิลปะเพื่อการออกแบบสวน
หลักการออกแบบ ครูอนุชา สุระถา MR.ANUCHA SURATHA ครูนฤศรณ์ วิมลประสาร MR.NARUSORN WIMONPRASARN.
Graphic Design Basic.
การจัดองค์ประกอบภาพ.
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
พื้นฐานการออกแบบ Graphic Design
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
บทที่ 2 เริ่มต้นใช้งาน Flash
เรื่อง สมาร์ทคิดกับคณิตศาสตร์
พีระมิด.
หลักเกณฑ์การออกแบบ.
เทคนิควิธี การซ้อนภาพให้ดูเนียน ด้วย โปรแกรม PhotoShop
การจัดองค์ประกอบของภาพ
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
Module 2 คุณสมบัติทางกายภาพของวัสดุอาหาร
เทคนิคการถ่ายภาพ.
รูปทรงเรขาคณิต จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง ชั้น ม. 1/4 เลขที่ 14
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
องค์ประกอบศิลป์สำหรับการถ่ายภาพ
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
เทคนิคการถ่ายภาพทิวทัศน์-บุคคล ในเวลากลางวันและกลางคืน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้ทั่วไปของการการจัดสวน
หลักองค์ประกอบทางศิลปะ
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
เส้นโค้งกับอนุพันธ์ สัมพันธ์กันอย่างไร?
ใบสำเนางานนำเสนอ:

"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ

องค์ประกอบในความนึกคิด ( conceptual element )

1.1 จุด ให้เห็นตำแหน่งที่ว่าง ให้ความรู้สึกนิ่ง คงที่ ไม่มี ความกว้าง ความยาว ไม่มีทิศทาง จะอยู่ในบริเวณ ปลายของเส้น หรือจุดเริ่มต้นของเส้น จุดตัดระหว่างเส้น 2 เส้น จุดศูนย์กลางของวงกลม จุดพบกันของเส้น ปริมาตร

จุดอาจมีหลายลักษณะ.. ที่พิจารณาเป็นจุดขึ้นอยู่กับขนาดของพื้นภาพ เมื่อจุดใหญ่ ขึ้น ก็ อาจเป็นระนาบได้เหมือนกัน..   

1.2 เส้น มีความยาว มีตำแหน่งและทิศทาง พร้อมทั้งการเคลื่อนไหว เส้น เมื่อนำจุดมาต่อกันเป็นเส้น มีขนาด ผอมบาง หนา มีน้ำหนัก มีทิศทาง ความยาว มีลักษณะต่างๆ และให้ความรู้สึกต่างๆ  

1.3 ระนาบ การเคลื่อนไหวของเส้น ที่ไม่ใช่ทิศทางของตัวเส้น ก่อให้เกิดระนาบ เส้นขนาน .. บอกได้ถึงระนาบ ถ้าเส้นขนานถี่ๆ ก็ ดูเป็นผิวระนาบ

ระนาบมีลักษณะต่างๆ.. รูปทรงเรขาคณิต รูปทรงธรรมชาติ ระนาบมี ทิศทาง มีความหมายเช่น สามเหลี่ยม มั่นคง วงกลม..

1.4 ปริมาณ มีตำแหน่งในที่ว่าง และ ล้อมรอบ โดยระนาบ ปริมาณ หรือ มวล ลวงตาได้เป็น 3 มิติ

2. องค์ประกอบที่มองเห็นได้ (Visual element) คือสิ่งที่เรามองเห็นได้โดยทั่วไป.. จำแนกได้อย่างง่ายดาย.. ได้แก่.. 2.1 รูปร่าง 2.2 ขนาด       

2.3 สี 2.4 ผิวสัมผัส       

3. องค์ประกอบที่สัมพันธ์กัน (Relational element) 3

3.2 ตำแหน่ง โดยพิจารณาจากรูปร่างกับกรอบ

3. 3 ที่ว่าง พิจารณาพิจารณาจาก ความสัมพันธ์ของที่ว่าง 3.3 ที่ว่าง พิจารณาพิจารณาจาก ความสัมพันธ์ของที่ว่าง.. กับตัวแบบและองค์ประกอบโดยรอบ..

3.4 แรงดึงดูด ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ.. ก่อให้เกดแรงดึงดูด ได้. .ต่างๆ . ตามลักษณะ และ ทิศทาง ของ องค์ประกอบโดยรอบ 

สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการสร้างสรรค์งาน 2 มิติ กรอบ และ พื้นภาพ ใช้เพื่อพิจารณา.. ที่ว่างและกำหนดตัวภาพ  

คราวนี้. เรามาพิจารณาความสัมพันธ์ของรูปทรง ได้แก่. 1 คราวนี้... เรามาพิจารณาความสัมพันธ์ของรูปทรง ได้แก่.. 1. แรงดึงในที่ว่าง ความสัมพันธ์ของรูปทรง และ ที่ว่าง ก่อให้เกิดแรงดึงดูดระหว่างองค์ประกอบโดยรอบ ..  

2. มุมสัมผัสมุม ก่อให้เกิดความ น่าสนใจ ขององค์ประกอบ..ได้ 2. มุมสัมผัสมุม ก่อให้เกิดความ น่าสนใจ ขององค์ประกอบ..ได้

3. ผิวหน้าสัมผัสผิวหน้า หรือ ขอบสัมผัสขอบ 3. ผิวหน้าสัมผัสผิวหน้า หรือ ขอบสัมผัสขอบ  

4. การซ้อน การซ้อนทับกันขององค์ประกอบ 4. การซ้อน การซ้อนทับกันขององค์ประกอบ

5. การเกี่ยวเนื่อง หรือ สอดประสานกัน

6. การห้อมล้อม ก่อให้เกิดความสำคัญของที่ว่างที่ถูก ห้อมล้อม

ผลกระทบที่เกิดของที่ว่างเมื่อรูปทรงสัมพันธ์กัน การดึงดูด การสัมผัส การซ้อนการสอดแทรก การเพิ่มรูป การลดรูป

ซึ่งเราสามารถใช้สิ่งต่างๆ เหล่านี้ในการเพิ่มความน่าสนใจในที่ว่าง ซึ่งเราสามารถใช้สิ่งต่างๆ เหล่านี้ในการเพิ่มความน่าสนใจในที่ว่าง.. ดังที่ได้กล่าวไปก่อนหน้านี้..

สุดท้าย. แนวทางการนำไปสู่ที่ว่าง หรือการทำภาพทำให้เกิด 3 มิติ 1 สุดท้าย ... แนวทางการนำไปสู่ที่ว่าง หรือการทำภาพทำให้เกิด 3 มิติ 1. แสงและเงา 2. ระยะใกล้ไกล 3. ขนาด 4. ทิศทางของเส้น 5. ตำแหน่งในพื้นภาพ 6. การซ้อน 7. การทำภาพโปร่งใส 8. ผิวสัมผัส 9. สี เพิ่มหรือลดโทน เป็นต้น..