HIIMS @ประจวบคีรีขันธ์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

Service Plan สาขา NCD.
ความก้าวหน้าของการพัฒนา Database
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ด้านการส่งเสริมพัฒนาและ ปรับปรุง :ระบบการให้บริการ
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
ระบบข้อมูล กระทรวงสาธารณสุข
ข้อมูลที่จัดเก็บประกอบด้วย
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
การตั้งค่าวัคซีน.
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
คำถามต่าง ๆ ในงานแพทย์แผนไทย นายธนพล มีอุดร งานสารสนเทศ สปสช. เขต 1 เชียงใหม่
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การตรวจสอบข้อมูลการให้วัคซีน แฟ้ม EPI
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
ระบบการรายงาน 0110 รง.5 ปี 2550.
สัญลักษณ์ การรณรงค์ มะเร็งเต้านม.
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
ส่งเสริมสัญจร.
การลงข้อมูลให้สมบูรณ์ และได้แต้ม
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
การจัดส่งรายงานผู้ป่วยประกันสังคม
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
(OP/PP Individual Data) รังสรรค์ ศรีภิรมย์
งานข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ สสจ.เลย 31 กรกฎาคม 2557
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
คณะกรรมการพัฒนาคุณห้องปฏิบัติการ เขตบริการสุขภาพที่ 5
1.การส่งข้อมูล 12&21และรายงาน 43+7 แฟ้มมาตรฐาน ผ่านสสจ.ชลบุรี
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การบันทึกข้อมูล EPI และแพทย์แผนไทย
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
Pass:
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การบันทึกข้อมูล ในโปรแกรมJHCIS ให้ครบถ้วน ทุกแฟ้ม ตามรายงาน 18 แฟ้ม
ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ เครือข่ายโรงพยาบาลสงขลา
ข้อมูลและรายงานทันตสาธารณสุข2558
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
มาตรฐานการบันทึกข้อมูล
โครงการพัฒนาระบบข้อมูล เพื่อการจัดการสุขภาพระดับอำเภอ
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 01. ข้อมูลประชาชน/ผู้ป่วย
การจัดการข้อมูลเพื่อประมวลผลงานตามตัวชี้วัดปี58
สรุปผลการปรับปรุงข้อมูลใน JHCIS
ประชุม web conference ติดตามข้อมูลแฟ้มมาตรฐาน วันที่ 24 เมษายน 2557
งานยุทธศาสตร์สาธารณสุข รพร.บ้านดุง
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
LOGO. เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

HIIMS @ประจวบคีรีขันธ์

ดัชนีสุขภาพ ผ่าน HIIMS 2557

แนวทางการประมวลผล HIIMS คนไทย +และพักอาศัยในเขตรับผิดชอบ (1,3) ข้อมูลประวัติรับบริการตรงตามเงื่อนไขดัชนีสุขภาพระบุ ในแฟ้มบริการแต่ละประเภท ภายในกรอบเวลาที่ประมวลผลแต่ละไตรมาส

Provis-upload Menu

URL ที่ควรติดตามในดัชนีชี้วัดสุขภาพ เขตบริการสุขภาพที่ 5 203.157.159.3 http://122.155.162.30/hiims/app/ http://203.157.159.3/hiims/app/ http://healthcaredata.moph.go.th/ http://thcc.or.th/download/vaccine.pdf

ปัญหาข้อมูลคือ..... ไม่ค่อยให้ความสำคัญ วดป.เกิด /สัญชาติ/ ประเภทพักอาศัย ลืมบันทึกจุดคุณภาพข้อมูลบริการด้านนั้น ๆ วันและเวลาบันทึกบริการหรือ บันทึกความครอบคลุมคลาดเคลื่อน

TIMELINE FOR 2558 จำหน่ายคนที่เคยอยู่ใน 1,3 แต่ได้ย้ายออก หรือ เสียชีวิต หรือตัวไปอยู่ที่อื่น กลุ่มโรคเรื้อรัง ที่ขึ้นทะเบียนไว้ ทำการจำหน่าย เมื่อเสียชีวิต พร้อมลงวันที่ชัดเจน กลุ่มโรคเรื้อรัง ปรับสถานะภาพโรค ให้ตรงตามสภาพคนไข้ในปัจจุบัน กรณีรักษาอยู่กับ รพ.แม่ข่าย ปรับเป็น “ ยังรักษาอยู่” กรณีส่งต่อให้โดยรพ.จังหวัดดูเพียงหน่วยเดียว หรือ ถูกส่งไปรักษากับ รพ. ในกทม. ปรับสถานะภาพ เป็น ส่งต่อ (แม่ข่ายกำหนดบันทึก REFER จริงทางระบบ กรณีกลุ่มเป้าหมาย วัคซิน หรือ กลุ่มเป้าหมายคัดกรอง ทำการตรวจสอบนาฬิกา ปฎิทินคอมพ์ ขององค์กร ให้ตรงความจริง ก่อนประมวลผล “กลุ่มเป้าหมาย” บริหารจัดการระบบวัคซิน และระบบ บันทึก รหัสโรค ให้เป็นไปตามมาตรฐานรหัส ICD10,ICD10-TM,VACCINE_CODE

นิยามกลุ่มเป้าหมาย แฟ้ม PERSON คือ...

DIAG+PROCED+DRUG--TTM (left(pc.proced,5) BETWEEN '90077' AND '90079' OR left(pc.proced,4) ='4557') OR DIDSTD like “4%” Ordiagcode like “U%” ขอเพิ่ม หัตการ ขึ้นต้นด้วย 87%

CHRONICFU SBP < DBP YEAR 57

EPI--HIIMS BCG 010 OPV3 083 DTP4 034 OPV4 084 MMR 061 JE2 052/J12 JE3 053 DTP5 035 HB3 092/093 ?? OPV5 085

EPI -ไม่ระบุวัคซินที่ให้บริการในปี 2557

BCG - 010

OPV4--084

23-NUTRITION หมายถึง ข้อมูลการวัดระดับโภชนาการและพัฒนาการเด็กอายุ 0-5 ปี และนักเรียนในเขตรับผิดชอบ ประกอบด้วย 1)  เด็ก 0-5 ปี เก็บข้อมูลปีละ 4 ครั้ง ครั้งที่ 1 เดือนตุลาคม ,ครั้งที่ 2 เดือนมกราคม ,ครั้งที่ 3 เดือนเมษายน,ครั้งที่ 4 เดือนกรกฏาคม โดยให้จัดส่งข้อมูล ให้ส่วนกลางภายในรอบของเดือนนั้น ๆ 2)  อายุ 6 -18 ปี เก็บข้อมูลปีละ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 เทอมที่ 1 และครั้งที่ 2 เทอมที่ 2 โดยให้จัดส่งข้อมูลให้ส่วนกลางภายในรอบของเดือนนั้น ๆ

ANC FOR 43

ANC FOR 43

หญิงมีครรภ์ที่ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน การได้รับยาที่มีส่วนประกอบไอโอดินในหญิงตั้งครรภ์ มีการจัดการรหัสยา 24 หลักขึ้นต้นด้วย 1011100000030821217% หรือ 2011203200377262217% หรือ 2011101000199999203%

ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ บันทึกวินิจฉัยด้วย F32% หรือ Depressive episodes F33% หรือ Recurrent depressive F341 หรือ Dysthymia F38% หรือ mood disorders F39%

CHRONIC หมายถึง ข้อมูลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ทุกคนที่อาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบ ประกอบด้วย 1) ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่ได้รับการวินิจฉัยจากโรงพยาบาล ทุกคนที่อาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบ

กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

NCD ในงาน CCM ปี 55-58 โรคมะเร็ง C00-C97

CHRONICFU หมายถึง ข้อมูลการตรวจติดตามผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง) ประกอบด้วย 1) ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคไตเรื้อรัง) ที่ได้รับการตรวจติดตาม โดยโรงพยาบาลและสถานบริการระดับปฐมภูมิ

ไม่ได้วัดความดันในการ F/U CHRONICFU