สารเสพติด จัดทำโดย ด.ญ. สุวรรณษา วงค์ขัติยะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/10 เลขที่ 1 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นพ. ภาณุ คูวุฒยากร จิตแพทย์ รพ. สวนปรุง
Advertisements

สารชีวโมเลกุล : โปรตีน
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
สื่อประกอบการเรียนรู้
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
ต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติด
ต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติด
สำนักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ภาค 2
น้ำมันหอมระเหยเพื่อการบำบัด
วิชายาและการใช้ยาสัตว์ (Animal Drugs and Usage) รหัสวิชา
ด.ญ.กุลจิรา ยอดมณี เลขที่ 19 ม.3/1
ด.ญ.ปรางค์วลี สีดอกไม้ ชั้น ม.3/2 เลขที่ 15
ด.ช.ประธาน โสมาสี ม.3/1 เลขที่06 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ
ชื่อ เด็กหญิง รัตนา ศรีรัตน์ ชั้นม.3/2 เลขที่4
เปิดโลกนอกกะลา.
การดื่มแอลกอฮอล์และการบริหารจิตและการเจริญปัญญา
เมืองลับแลที่เขางู จากคำบอกเล่าของคุณณรงค์ คุ้มจิตร์ เล่าว่า "เขางูมีตำนานเล่าจากผู้เฒ่าผู้แก่ว่า เขางูเป็นเมืองลับแล เล่ากันว่า ที่ถ้ำแห่งนี้สามารถทะลุผ่านไปยังเมืองลับแลซึ่งมีผู้คนชาวลับแลอาศัยอยู่
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
คณะกรรมการบริหารเครือข่ายองค์กรวิชาการสารเสพติด
โรคเอสแอลอี.
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
อ.ดร.นันทนา อุ่นเจริญ และ อ.วันทกาญจน์ สีมาโรฤทธิ์
โครงงานการสร้างเว็บไซต์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
บก ผลการจับกุม (คดี) เฮโรอีน ยาบ้า กัญชา พืชกระท่อม ฝิ่น โคเคน
การดำเนินงาน ต่อสู้ เพื่อ เอาชนะยาเสพ ติด จังหวัด ยะลา.
การดำเนินการต่อสู้ เพื่อเอาชนะยาเสพติด จังหวัดยะลา.
การดำเนินการต่อสู้ การดำเนินการต่อสู้ เพื่อเอาชนะยาเสพติดจังหวัดยะลา เพื่อเอาชนะยาเสพติดจังหวัดยะลา.
การดำเนินการต่อสู้ เพื่อเอาชนะยาเสพติด จังหวัดยะลา.
การดำเนินการต่อสู้ เพื่อเอาชนะยาเสพติด จังหวัดยะลา.
ผลการดำเนินงานต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดจังหวัดยะลา ผลการดำเนินงาน ต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติด จังหวัดยะลา.
การดำเนินการต่อสู้ เพื่อเอาชนะยาเสพติด จังหวัดยะลา.
การดำเนินการต่อสู้ เพื่อเอาชนะยาเสพติด จังหวัดยะลา.
การดำเนินการต่อสู้ เพื่อเอาชนะยาเสพติด จังหวัดยะลา.
ผลการดำเนินงานต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดจังหวัดยะลา ผลการดำเนินงาน ต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติด จังหวัดยะลา.
การดำเนินการต่อสู้ เพื่อเอาชนะยาเสพติด จังหวัดยะลา.
บารากุ หรือ บารากู่ ( baraku)
การจำแนกชนิดผลิตภัณฑ์สุขภาพ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
กลุ่มหอยกับไข่.
สถานการณ์เฝ้าระวังปัญหายาเสพติดจังหวัดลพบุรี
สถานการณ์ยาเสพติดพื้นที่
สรุปสถานการณ์จังหวัดปัตตานี
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
การก้าวทันยาเสพติดของวัยรุ่น
อาหารเพื่อผิวสวย โดย ฉัตรฤทัย บัวสุข
มาทำความรู้จักกลูต้าไธโอนกันเถอะ
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
ห่วงลูกหลาน รักในหลวง เด็กไทย ห่างไกลยาเสพติด ร่วมกันต้าน ยาเสพติด.
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
ยาเสพติด ยาเสพติด คนรุ่นใหม่ ร่วมต้านภัย เราจะป้องกันยาเสพติด
ข้อสอบกลางภาค ประจำภาคเรียนที่
สุขภาพจิตที่ดี โรคจิต โรคประสาท การฝึกนั่งสมาธิ ข้อแตกต่าง โรคจิต
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
นาย ปพน เขียวชะอ่ำ คณะ โลจิสติกส์ 901. * การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดใน ปีงบประมาณ พ. ศ. ๒๕๕๐ มุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาที่ คงเหลือและสร้างความยั่งยืนในการแก้ไขปัญหายาเสพ.
Counseling Schizophrenia
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
กฎหมายชุมชนและประเทศชาติ
ผลไม้เพื่อสุขภาพ จัดทำโดย ด.ญ.ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18
แล้วคุณเป็นใคร ?.
เด็กปลอด จัดทำโดย ด. ช. อาทิตย์ ภูมิภู เขียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เลขที่ 2.
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
สารเสพติด เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก จัดทำโดย
RAID (Redundant Array of Inexpensive Disks) By Jiraporn konkhayan
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สารเสพติด จัดทำโดย ด.ญ. สุวรรณษา วงค์ขัติยะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/10 เลขที่ 1 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก

บรรณานุกรม ความหมายของสารเสพติด ประเภทของสารเสพติดแบ่งตามการ ออกฤทธิ์ ประเภทของสารเสพติดแบ่งตามกฎหมาย ประเภทของสารเสพติดแบ่งตามแหล่งที่มา

ความหมายของสารเสพติด ยาเสพติด หมายถึง สารใดก็ตามที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือสารที่สังเคราะห์ขึ้น เมี่อนำเข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่าจะโดยวิธี รับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยวิธีการใด ๆ แล้ว ทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ นอกจากนี้ยังจะทำให้เกิดการเสพติดได้ หากใช้สารนั้นเป็นประจำทุกวัน หรือวันละ หลาย ๆ ครั้ง Menu Next

ประเภทของสารเสพติดแบ่งตามการออกฤทธิ์ จำแนกตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท แบ่งเป็น ๔ ประเภท 1. ประเภทกดประสาท ได้แก่ เฮโรอีน ฝิ่น มอร์ฟีน ยากล่อมประสาท เครื่องดื่มมึนเมา สารระเหย ยาระงับประสาทเป็น ต้น ผู้ที่เสพจะมีร่างกายผอม ซูบซีด อ่อนเพลีย ฟุ้งซ่าน มึนงง ง่วงซึม บางครั้งมีอาการคลุ้มคลั่ง Beak Next Menu

2. ประเภทกระตุ้นประสาท Menu ได้แก่ ยาบ้า โคเคน ใบกระท่อม ยาอี บุหรี่ คาเฟอีน เป็นต้น ผู้ที่เสพติดจะประสาทตื่นตัว ไม่ง่วง นอน กระวนกระวาย จิตสับสน หวาดระแวง  หรือมีอาการทางประสาท Beak Menu Next

3. ประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอล เอส ดี (L.S.D.) ดี เอ็ม ที (D.M.T.) เห็ดขี้ควาย ยาเค เป็นต้น ผู้ ที่เสพติดจะเกิดประสาทหลอน หูแว่ว เห็นภาพแปลกๆ เช่น ภาพที่น่าเกลียดน่ากลัว ภาพที่สวยงามวิจิตรพิสดาร Beak Next Menu

4. ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน ได้แก่ กัญชา ผู้ที่เสพติดจะมีอาการเคลิบเคลิ้ม ประสาท หลอน เห็นภาพลวงตา หูแว่ว ความคิดสับสน และเป็น โรคจิตในที่สุด Beak Menu Next

ประเภทของสารเสพติดแบ่งตามแหล่งที่มา 1. จากธรรมชาติ เช่น ฝิ่น มอร์ฟีน กระท่อม กัญชา ฯลฯ 2. จากการสังเคราะห์ เช่น เฮโรอีน แอมเฟตามีน ยาอี เอ็คตาซี ฯลฯ Beak Next Menu

ประเภทของสารเสพติดแบ่งตามกฎหมาย 1. พ.ร.บ.ยาเสพ ติดให้โทษ พ.ศ. 2522 เช่น แอมเฟตามีน เฮโรอีน LSD ยาอี ฯลฯ 2. พ.ร.บ.วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตใจและประสาท พ.ศ. 2518 เช่น อีเฟดรีน 3. พระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. 2533 เช่น ทินเนอร์ กาว แล็กเกอร์ Beak Menu Next

บรรณานุกรม http://www.chetupon.ac.th/Yasebtid/Pages/WhatisDrug1.html http://bmn.cdd.go.th/jm/index.php?option=com_content&view =article&id=8&Itemid=18 Beak Menu