สารเสพติด จัดทำโดย ด.ญ. สุวรรณษา วงค์ขัติยะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/10 เลขที่ 1 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก
บรรณานุกรม ความหมายของสารเสพติด ประเภทของสารเสพติดแบ่งตามการ ออกฤทธิ์ ประเภทของสารเสพติดแบ่งตามกฎหมาย ประเภทของสารเสพติดแบ่งตามแหล่งที่มา
ความหมายของสารเสพติด ยาเสพติด หมายถึง สารใดก็ตามที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือสารที่สังเคราะห์ขึ้น เมี่อนำเข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่าจะโดยวิธี รับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยวิธีการใด ๆ แล้ว ทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ นอกจากนี้ยังจะทำให้เกิดการเสพติดได้ หากใช้สารนั้นเป็นประจำทุกวัน หรือวันละ หลาย ๆ ครั้ง Menu Next
ประเภทของสารเสพติดแบ่งตามการออกฤทธิ์ จำแนกตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท แบ่งเป็น ๔ ประเภท 1. ประเภทกดประสาท ได้แก่ เฮโรอีน ฝิ่น มอร์ฟีน ยากล่อมประสาท เครื่องดื่มมึนเมา สารระเหย ยาระงับประสาทเป็น ต้น ผู้ที่เสพจะมีร่างกายผอม ซูบซีด อ่อนเพลีย ฟุ้งซ่าน มึนงง ง่วงซึม บางครั้งมีอาการคลุ้มคลั่ง Beak Next Menu
2. ประเภทกระตุ้นประสาท Menu ได้แก่ ยาบ้า โคเคน ใบกระท่อม ยาอี บุหรี่ คาเฟอีน เป็นต้น ผู้ที่เสพติดจะประสาทตื่นตัว ไม่ง่วง นอน กระวนกระวาย จิตสับสน หวาดระแวง หรือมีอาการทางประสาท Beak Menu Next
3. ประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอล เอส ดี (L.S.D.) ดี เอ็ม ที (D.M.T.) เห็ดขี้ควาย ยาเค เป็นต้น ผู้ ที่เสพติดจะเกิดประสาทหลอน หูแว่ว เห็นภาพแปลกๆ เช่น ภาพที่น่าเกลียดน่ากลัว ภาพที่สวยงามวิจิตรพิสดาร Beak Next Menu
4. ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน ได้แก่ กัญชา ผู้ที่เสพติดจะมีอาการเคลิบเคลิ้ม ประสาท หลอน เห็นภาพลวงตา หูแว่ว ความคิดสับสน และเป็น โรคจิตในที่สุด Beak Menu Next
ประเภทของสารเสพติดแบ่งตามแหล่งที่มา 1. จากธรรมชาติ เช่น ฝิ่น มอร์ฟีน กระท่อม กัญชา ฯลฯ 2. จากการสังเคราะห์ เช่น เฮโรอีน แอมเฟตามีน ยาอี เอ็คตาซี ฯลฯ Beak Next Menu
ประเภทของสารเสพติดแบ่งตามกฎหมาย 1. พ.ร.บ.ยาเสพ ติดให้โทษ พ.ศ. 2522 เช่น แอมเฟตามีน เฮโรอีน LSD ยาอี ฯลฯ 2. พ.ร.บ.วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตใจและประสาท พ.ศ. 2518 เช่น อีเฟดรีน 3. พระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. 2533 เช่น ทินเนอร์ กาว แล็กเกอร์ Beak Menu Next
บรรณานุกรม http://www.chetupon.ac.th/Yasebtid/Pages/WhatisDrug1.html http://bmn.cdd.go.th/jm/index.php?option=com_content&view =article&id=8&Itemid=18 Beak Menu