การจัดทำแผนการควบคุมและ การให้การรับรองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ผู้บริจาคร่างกายในปี 2551 รวมจำนวน 3,000 คน
คำขอขึ้นทะเบียน ตามแบบกปม/ทบ2 (ผู้ประกอบการประเภทอื่นๆ)
รายงานสถานการณ์การผลิตข้าว
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ผลการดำเนินงาน กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ
โครงการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้ประโยชน์จากฟางข้าว โครงการวิจัยทุนอุดหนุนวิจัย มก. ประจำปีงบประมาณ โครงการวิจัยรหัส การฝึกอบรมการผลิตเห็ดในถุงพลาสติกโดยใช้ฟางข้าวหมักและมอบเครื่องอัดฟางข้าวหมักและเครื่องสับฟางข้าวขนาดเล็กให้แก่กลุ่
สถานการณ์ความยากจน ของประเทศไทย
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตร ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
โครงการลดภาระหนี้ให้แก่เกษตรกรรายย่อย ตามนโยบายของรัฐบาลผ่านระบบสถาบันเกษตรกร จังหวัดสมุทรสงคราม.
ตัวชี้วัดตามแผนงานงบประมาณ
แผนงาน/โครงการที่สำคัญของกรมส่งเสริมสหกรณ์
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีการปศุสัตว์
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานระดับกลุ่มจังหวัดและระดับจังหวัด
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
แนวโน้มตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์โลก
การบริหารจัดการข้าวอินทรีย์ในระดับเกษตรกร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
สรุปผลการรวบรวม ความคิดเห็นของประชาชนที่ซื้อคอมพิวเตอร์จากโครงการคอมพิวเตอร์ ไอซีที เพื่อคนไทย พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
คุณสมบัติ หลักเกณฑ์การคัดเลือก และเงื่อนไข “ร้านถูกใจ”
แผนการดำเนินโครงการโชห่วยช่วยชาติ “ร้านถูกใจ”
มาตรการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
มาตรการควบคุมสินค้าและบริการควบคุม ปี 2554 รายการสินค้าและบริการควบคุม
สำนักวิชาการและแผนงาน
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
แผนปฏิบัติการสำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัด พื้นที่ X-RAY ประจำปีงบประมาณ 2556 งาน / โครงการ / กิจกรรม จำนว น ช่าง สำรว จ จำนว น กล้อ ง ( เครื่ อง ) เพิ่ม.
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
แนวทางการประชุมกลุ่ม
การลดภาษีของออสเตรเลีย
การถ่ายโอนภารกิจให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
โครงการพัฒนามาตรการป้องกัน เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
การดำเนินงานวิสาหกิจชุมชนจังหวัดลำพูน
คำอธิบายเกษตรหมู่บ้าน
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
โครงการขึ้นทะเบียนการปลูก พืชเศรษฐกิจหลัก 3 ชนิด
การออกใบรับรองเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2551 /52
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
แผนปฏิบัติงาน 5 ปี (2553 – 2557) นิคมการเกษตรข้าวหอมมะลิ
ITกับโครงการ Food safety
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2553 สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ ณ เดือนสิงหาคม 2553 สำนักงานประมงจังหวัด อุตรดิตถ์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2553 เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตร.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ความสุขคนไทย” ระหว่างวันที่ กันยายน 2554.
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน พฤษภาคม 2554 สำนักงานเกษตรอำเภอบางแก้ว.
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
กลยุทธ์การส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ไทย
โครงการบริหารจัดการผลไม้ ภาคตะวันออก ปี 2552 สำนักงานจังหวัดตราด ได้รับอนุมัติวงเงิน 6,200,000 บาท ดังนี้
ปฏิทินการประชุม คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค.ก.ค. ส.ค.ส.ค. ก.ย.ก.ย. ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค
เรื่องที่นักส่งเสริมการเกษตรควรรู้
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนา ธุรกิจสหกรณ์ ปีงบประมาณ 2555 วันที่ 15 ตุลาคม 2555.
คำขวัญประจำจังหวัด เหนือสุดในสยาม ชายแดนสามแผ่นดิน ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี การส่งเสริมพัฒนากลุ่ม อาชีพ ( พื้นฐาน ) เจ้าภาพ กพส. ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ สนับสนุนปัจจัยการผลิต.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดทำแผนการควบคุมและ การให้การรับรองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ เพื่อการจดทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ โดย บริษัทไบโออะกริเสิร์ช (ไทยแลนด์)จำกัด

วัตถุประสงค์ เพื่อจัดทำแผนการควบคุม (Control System Plan) ซึ่งเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบ ระบบการตรวจสอบผู้ผลิตตามกระบวนการรับรองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ เพื่อทำการตรวจรับรอง (Inspection) ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ ในฐานะ Certification Body ตามมาตรฐาน EC Reg. No.510/2006 และ EC Reg.1898/2006

ความเป็นมาขององค์กร เป็นบริษัทที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับการตรวจสอบ การเป็นผู้ให้การรับรองการผลิตสินค้าอินทรีย์ EUREPGAP สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GIP) และอื่น ๆ ได้รับการยอมรับและแต่งตั้งโดยหน่วยงานซึ่งดูแลเกี่ยวกับการให้การรับรองในยุโรป ซึ่งรับรองโดย Sincert และ IFOAM ตามมาตรฐาน ISO 65 และ EN 45011 ในอิตาลี มีสำนักงานใหญ่และสำนักงานย่อยอีก 9 สาขา ในประเทศอิตาลี มีบริษัทมากกว่า 60,000 บริษัทที่ได้รับการรับรอง โดย 1ใน 5 ของบริษัทดังกล่าวได้รับการรับรองโดย Bioagricert Srl. ในระดับนานาชาติ มีสาขาอยู่ในหลาย ๆ ประเทศ เช่น เม็กซิโก บราซิล โคลอมเบีย บัลแกเรีย ตุรกี เซอร์เบีย สโลเวเนีย โปแลนด์ จีน เกาหลีใต้ และไทย

ความเป็นมาขององค์กร เริ่มเข้ามาในประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 หลากหลายโครงการในประเทศไทยที่ บริษัทไบโออะกริเสิร์ช(ไทยแลนด์) จำกัด ได้ให้การรับรอง ข้าวอินทรีย์ พืช ผัก และผลไม้อินทรีย์ น้ำมันมะพร้าวอินทรีย์ น้ำมันปาล์มอินทรีย์ กาแฟอินทรีย์ แป้งมันสำปะหลัง และน้ำตาลอินทรีย์

ความเป็นมาขององค์กร ในส่วนของการรับรอง สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ Bioagricert Srl. ประเทศอิตาลี ได้ทำการตรวจรับรองตามมาตรฐาน GIP ในสินค้าทางการเกษตรหลากหลายโครงการ เช่น Brindisi Extra-virgin olive oil “Pecorino Pugliese” Cheese Lunugiana Honey Sant’Andrea Piemonte Rice Altamura Bread

ผลงานการตรวจรับรองในประเทศไทย พื้นที่ทางการเกษตร ผู้แปรรูปสินค้าเกษตรอินทรีย์ และผู้จำหน่ายสินค้าเกษตรอินทรีย์ที่ได้รับการรับรอง โดย บริษัท ไบโออะกริเสิร์ช (ไทยแลนด์) จำกัด ลำดับ องค์กร ประเภทการตรวจรับรอง ผลิตภัณฑ์ จำนวน (ราย) พื้นที่ (ไร่) 1. จังหวัดบุรีรัมย์ เกษตรกร ข้าวเปลือกหอมมะลิอินทรีย์ 432 6,250.00 2. จังหวัดนครราชสีมา 25 1,987.50 3. บ.เอพีแซด คอร์ปอเรชัน จำกัด อ.ปราสาท จ.สุรินทร์ อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี - จ.สุพรรณบุรี ผู้แปรรูป/ ผู้จำหน่าย กลุ่มเกษตรกร ข้าวปรุงรสอินทรีย์ ข้าวหอมมะลิอินทรีย์ ผักอินทรีย์ 44 1 309.00 523.00 25.00

4. บ.ชาฉุยฟง จำกัด - จ.เชียงราย ผู้แปรรูป/ ผู้จำหน่าย เกษตรกร ชาอินทรีย์ 1 700.00 5. Organic Oil S.P.A. (Italy) - จ.ชุมพร เกษตรกร/ผู้แปรรูป น้ำมันปาล์มอินทรีย์ ปาล์มน้ำมันอินทรีย์ 1. 3,862.50 6. บ.เอิร์ธบอร์น จำกัด - จ.สมุทรสงคราม - จ.ชลบุรี น้ำมันมะพร้าว อินทรีย์ มะพร้าวอินทรีย์ 2 382.00 2,927.50 7. บ.แนชเชอรัล ฟู้ด จำกัด - จ.ราชบุรี - จ.กาญจนบุรี ผลไม้อบแห้ง ผลไม้อินทรีย์ 99.625 380.00 8. บ.เซาท์อิสต์เอเชีย ออร์แกนิค จำกัด - จ.นครราชสีมา น้ำตาลอินทรีย์, แป้งมันสำปะหลัง อินทรีย์,organic moltodextrin มันสำปะหลังอินทรีย์ อ้อยอินทรีย์ 3 1,696.00 4,033.00

9. บ.ท็อปออร์กานิกโปรดักแอนด์ซัพพลายส์ จำกัด - จ.พะเยา - จ.เชียงราย ผู้แปรรูป/ผู้ จำหน่าย เกษตรกร ข้าวหอมมะลิอินทรีย์, ข้าวหอมมะลิแช่แข็ง อินทรีย์,กาแฟอินทรีย์, กะทิอินทรีย์ ข้าวหอมมะลิอินทรีย์ กาแฟอินทรีย์ 34 175 11 1,121.00 5,132.31 167.00 10. สหกรณ์การเกษตรไร้ สารเคมีจำกัด จ.อุบลราชธานี กลุ่มเกษตรกร/ ผู้แปรรูป 339 7,038.00 11. บ.รีเวอร์แคว อินเตอร์ เนชันแนล อุตสาหกรรม อาหาร จำกัด - จ.กาญจนบุรี - จ.ราชบุรี - จ.จันทบุรี - จ.เชียงใหม่ - จ.สุราษฏร์ธานี - จ.ชัยภูมิ - จ.สุรินทร์ - จ.สระแก้ว ผู้จำหน่าย กลุ่มเกษตรกร ผัก/ผลไม้อินทรีย์ ผลไม้อินทรีย์ หน่อไม้ฝรั่งอินทรีย์ 4 1 2 40 42 342.31 257.19 6.00 10.00 33.50 29.00 200.00 25.25 131.00

12. บ.ดอยช้าง เฟรช โรสเต็ดคอฟฟี่ จำกัด - จ.เชียงราย ผู้แปรรูป/ ผู้จำหน่าย กลุ่มเกษตรกร กาแฟอินทรีย์, มะคาเดเมียอินทรีย์ 32 1,092.00 13. Action Group Co.,Ltd.(Cambodia) ผู้แปรรูป/เกษตรกร ข้าวอินทรีย์ 4 9150.00 14. บ.เจียเม้ง จำกัด ผู้แปรรูป/ผู้จำหน่าย ข้าวหอมมะลิอินทรีย์ - 15. บ.สามพรานฟู้ดส์จำกัด เครื่องดื่มอินทรีย์ 16. บ.อุทัย โปรดิวส์จำกัด 17. บ.สยามเกรนส์ จำกัด 18. บ.เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด(มหาชน) เกษตรกร กุ้งอินทรีย์ 1 100.00 19. บ.โนวาซายน์ จำกัด ปัจจัยการผลิตอินทรีย์ 20. บ.เชียงใหม่ ออร์แกนิก สปา จำกัด สบู่ออร์แกนิก

แผนการปฏิบัติงาน การจัดทำแผนการควบคุม และการให้คำรับรองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้ แผนการปฏิบัติงาน วันที่ดำเนินการ สถานที่ดำเนินการ 1.การจัดทำแผนการควบคุมการปฏิบัติงาน 28 กันยายน – 2 พฤศจิกายน 2550 Bioagricert Srl. ประเทศอิตาลี 2.การประชุมหารือร่วมกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 18 ตุลาคม 2550 จังหวัดร้อยเอ็ด 3.การรับสมัครเกษตรกร 18-23 ตุลาคม 2550 จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดยโสธร จังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดศรีษะเกษ 4.การรวบรวมใบสมัคร/ การคัดเลือกผู้ตรวจรับรองท้องถิ่นและการอบรมผู้ตรวจรับรองท้องถิ่น 25-31 ตุลาคม 2550 5.การส่งมอบงานครั้งที่ 1ภายในวันที่ 9 พฤศจิกายน 2550กรมทรัพย์สินทางปัญญา ภายในวันที่ 9 พฤศจิกายน 2550 กรมทรัพย์สินทางปัญญา

แผนการปฏิบัติงาน วันที่ดำเนินการ สถานที่ดำเนินการ 6.การตรวจรับรองครั้งที่ 1 5-16 พฤศจิกายน 2550 พื้นที่ของเกษตรกรทุกรายที่ทำ การสมัครเข้าร่วมโครงการสิ่ง บ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ข้าวหอมมะลิ ทุ่งกุลาร้องไห้ 7.การตรวจรับรองครั้งที่ 2 19-30 พฤศจิกายน 2550 พื้นที่ของเกษตรกรที่ทำการ สมัครเข้าร่วมโครงการสิ่งบ่งชี้ ทางภูมิศาสตร์ข้าวหอมมะลิทุ่ง กุลาร้องไห้ โดยกระบวนการสุ่ม 8.การตรวจรับรองผู้แปรรูป สถานที่แปรรูป (โรงสี) ที่ทำการ สมัครเพื่อเข้าร่วมโครงการ จำนวน 10 แห่ง 9.การส่งมอบงาน ภายในวันที่ 21 ธันวาคม 2550 กรมทรัพย์สินทางปัญญา 10.การตรวจรับรองผู้ส่งออก 14-18 มกราคม 2551 บริษัทผู้ส่งออกที่สมัครเข้าร่วม โครงการจำนวน 5 แห่ง 11.การประเมินผลการตรวจรับรอง และการออกใบรับรอง 21 มกราคม-8 กุมภาพันธ์ 2551 Bioagricert Srl. ประเทศอิตาลี

แผนการปฏิบัติงาน วันที่ดำเนินการ สถานที่ดำเนินการ 12.การส่งมอบงานครั้งที่ 3 และรายงานสรุปการจัดทำแผนการควบคุมและการให้คำรับรองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ฉบับร่าง 15 กุมภาพันธ์ 2551 กรมทรัพย์สินทางปัญญา 13.การส่งมอบรายงานการจัดทำแผนการควบคุมและการให้คำรับรองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ฉบับสมบูรณ์ ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2551

การออกใบรับรอง การออกใบรับรองให้กับเกษตรกรในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ – ออกใบรับรองจำนวน 1 ชุดต่อ 1 อำเภอ พร้อมแนบรายชื่อเกษตรกร ที่ตั้ง และจำนวนพื้นที่ของเกษตรกร การออกใบรับรองให้กับผู้แปรรูป ผู้จำหน่าย และผู้ส่งออก – ออกใบรับรอง 1 ใบต่อ ผู้แปรรูป ผู้จำหน่าย และผู้ส่งออกแต่ละราย