บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักคิด หลักการ และการปฏิบัติงาน ให้ประสบผลสำเร็จ
Advertisements

เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
โดย อาจารย์วารุณี ถีระแก้ว โรงเรียนวัดไร่ขิง จังหวัดนครปฐม
และจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
ส่งการบ้านในระบบ E-laering
นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
ลักษณะของครูที่ดี.
พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
การดำเนินชีวิตอย่างมีอุดมคติ
บทบาทและหน้าที่ของนักคอมพิวเตอร์
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
สังคหวัตถุ 4 สังคหวัตถุ หมายถึง ข้อปฏิบัติที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของบุคคลหรือหลักธรรมที่เป็นเครื่องประสานสร้างสรรค์สามัคคีให้เกิดในหมู่สมาชิกชาวพุทธ.
พลเมืองเรื่องดีในวิถีชีวิตประชาธิปไตย
โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร
เครื่อข่ายเชื่อมโยงการเรียนรู้
การอยู่ร่วมกันในสังคม
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
หลักการดำเนินชีวิตอย่างปลอดภัยโดย สัปปุริสธรรม 7
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
“คุณธรรม” และ “จริยธรรม”
จริยธรรม จริยธรรม หมายถึง กิริยาหรือความประพฤติที่ดี ที่เป็นธรรม ที่ถูกต้อง เป็นการกระทำความดี เป็นการกระทำที่ทำให้ผู้กระทำและผู้อื่นได้ประโยชน์โดยเสมอภาคซึ่งกันและกัน.
หลักธรรมเพื่อชีวิตและสังคม
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
8 คุณธรรมพื้นฐาน.
บุคลิก 9 ประการ ที่ควรพัฒนา
คุณเป็นคนที่มีอุดมการณ์หรือไม่ ???
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
จรรยาบรรณวิชาชีพ.
บทบาทของนักวิชาการกับความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
สุขภาพจิต และการปรับตัว
สัปปุริสธรรม 7 บรรยายโดย อ.พงศ์สฎา เฉลิมกลิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
สังคหวัตถุ 4 บรรยายโดย อ.พงศ์สฎา เฉลิมกลิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
วัฒนธรรมองค์กร & การอยู่ร่วมกัน
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่ 34
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของ ผู้ตรวจราชการและหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ สุรศักดิ์ แสงอร่าม รองเลขาธิการ ส.ป.ก. 21 ต.ค
เคล็ดลับในการฝึกงาน ให้ประสบความสำเร็จ!!!
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
Ombudsman Talk.
หน้าที่ ของผู้จัดและผู้ให้การศึกษานั้น กล่าว อย่างสั้นที่สุดก็คือการให้คนได้เรียนดี เพื่อที่จะ สามารถทำการงานสร้างตัวและดำรงตัวให้เป็นหลัก เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมได้
จรรยาบรรณครู จรรยาบรรณข้อที่ 1 ครูต้องรักและเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลือส่งเสริมให้ กำลังใจใน การศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า จรรยาบรรณข้อที่
วิชาธรรมศึกษา จัดทำโดย พระ บุญมี อนามโย วัดคลองมะนาว.
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
จรรยาบรรณ เรื่องส่งเสริมเสรีภาพในวิชาชีพ
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
คัดย่อจากจากผลงานธรรมนิพนธ์เรื่องต่างๆ
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
การพัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ
สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม
มรรค : ธรรมที่ควรเจริญ
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
เรื่อง ประวัติและความสำคัญ ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
ความเป็นครู.
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
อุดมการณ์ และจิตวิญญาณ ของความเป็นครู.
พระครูพิศิษฏ์คณาทร วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
มงคล 38 ประการ พระพุทธเจ้าต้องการสอนให้ประชาชนรู้ ว่าปฏิบัติตนอย่างไรจึงจะเป็นมงคลแก่ตัวเอง แบ่งเป็น - สำหรับเยาวชน 10 ประการ - สำหรับคนวัยทำงาน 18.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม

มนุษย์ที่สมบูรณ์แบบ คุณสมบัติของความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ หรือหลักธรรมของคนดี หรือคนที่แท้จริง เรียกว่า สัปปุริสธรรม เป็นบุคคลในอุดมคติตามทัศนะของพระพุทธศาสนา มี 7 ประการ คือ

มนุษย์ที่สมบูรณ์แบบ • รู้หลักและรู้จักเหตุ (ธัมมัญญุตา) • รู้หลักและรู้จักเหตุ (ธัมมัญญุตา) • รู้ความมุ่งหมายและรู้จักผล (อัตถัญญุตา) • รู้ตน (อัตตัญญุตา)

มนุษย์ที่สมบูรณ์แบบ รู้ประมาณ (มัตตัญญุตา) รู้กาล (กาลัญญุตา) รู้ชุมชน (ปริสัญญุตา) รู้บุคคล (ปุคคลัญญุตา)

ห้ามรบกวนเด็ดขาด !

สมาชิกที่ดีของสังคม • 1) มีพรหมวิหาร 4 ประการ คือ • สมาชิกที่ดีผู้ช่วยสร้างสรรค์สังคม มีธรรมหรือมีหลักความประพฤติ ดังนี้ • 1) มีพรหมวิหาร 4 ประการ คือ • มีความปรารถนาดี (เมตตา) • มีความสงสาร (กรุณา) • มีความเบิกบานพลอยยินดี (มุทิตา) มีความมีใจเป็นกลาง (อุเบกขา)

สมาชิกที่ดีของสังคม 2) บำเพ็ญการสงเคราะห์ คือ ปฏิบัติตามหลักการสงเคราะห์หรือหลักเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจคน และประสานหมู่ชนไว้ด้วยความสามัคคี เรียกว่า สังคหวัตถุ 4 ประการ คือ ช่วยด้วยทุน สิ่งของ และความรู้ (ทาน) ช่วยด้วยถ้อยคำ (ปิยวาจา) ช่วยด้วยกำลังงาน (อัตถจริยา) ช่วยร่วมเผชิญและแก้ปัญหา (สมานัตตตา)

อย่างนี้ใช่คนดีของสังคมหรือไม่

สมาชิกที่ดีของชุมชน คนที่เป็นส่วนร่วมที่ดีของชุมชน ซึ่งจะช่วยให้ชุมชนอยู่ร่วมกันด้วยดี ต้องมีธรรมหรือหลักประพฤติ ดังนี้ 1. พึ่งตนเองได้ ทำตนให้เป็นที่พึ่งของตน พร้อมที่จะรับผิดชอบตนเอง ไม่ทำตัวให้เป็นปัญหาหรือเป็นภาระของหมู่คณะหรือครอบครัว ด้วยการปฏิบัติตามหลักธรรมสำหรับสร้างที่พึ่งแก่ตนเอง เรียกว่า นาถกรณธรรม 10 ประการ คือ

ประพฤติดี มีวินัย เลี้ยงชีวิตด้วยความสุจริต ศึกษาเล่าเรียนมาก รู้จักคบคนดี เป็นคนที่พูดกันง่าย เอาใจใส่ช่วยเหลือธุระหรือกิจการของหมู่คณะ เป็นผู้ใคร่ธรรม มีความเพียรขยัน รู้สันโดษ รู้พอดี มีสติคงมั่น มีปัญญาเหนืออารมณ์

สมาชิกที่ดีของชุมชน 2. ปฏิบัติตามหลักการอยู่ร่วมกัน ที่เรียกว่า สาราณียธรรม (ธรรมเป็นเหตุให้ระลึกถึงกัน) 6 ประการ คือ

ชีวิตย่อมมีอุปสรรค

แสดงไมตรีและความหวังดีต่อเพื่อนร่วมงาน ร่วมกิจการ ร่วมชุมชน (เมตตากายกรรม) กล่าววาจาสุภาพ บอกสิ่งที่เป็นประโยชน์ (เมตตาวจีกรรม) ตั้งจิตปรารถนาดี คิดทำสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อกัน (เมตตามโนกรรม) ได้มาแบ่งกันกินแบ่งกันใช้ (สาธารณโภคี) ประพฤติดีให้เหมือนเขา รักษาระเบียบวินัยของส่วนรวม ไม่ทำตนให้เป็นที่รังเกียจหรือเสื่อมเสียแก่หมู่คณะ (สีลสามัญญตา) ปรับความเห็นเข้ากันได้ เคารพรับฟังความเห็นของกันและกัน ยึดถือหลักความดีงามหรือจุดหมายสูงสุดอันเดียวกัน (ทิฏฐิสามัญญตา)

แบบอย่างที่ดีงาม

ฝากให้คิด ยามเบื่อหน่ายไม่อยากเรียน ให้นึกถึงคนที่เขาไม่มีโอกาสที่จะเรียนแบบเรา ยามที่รู้สึกว่าเงินที่เราได้ไม่คุ้มกับงานที่เราทำ ให้นึกถึงคนที่เขาไม่มีงานจะทำ ยามที่รู้สึกว่าอาหารที่เรากินมันไม่อร่อยเลย ให้ นึกถึงคนที่เขาไม่มีจะกิน ชีวิตเมื่อคิดในเชิงบวก ก็จะบวก

ขอให้ท่านโชคดี เจริญพร