ระบบส่งเสริมการเกษตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
Advertisements

ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
เศรษฐกิจพอเพียง.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
บทบาทหน้าที่ผู้ตรวจราชการกรม
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
พลตรี นพดล พิศวง รองผอ.รมน.สระบุรี
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
สถานการณ์การจัดการความรู้ของกรมส่งเสริมการเกษตร  เริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี 2547 ภายใต้คำรับรองการปฏิบัติราชการ มีแนวทางการดำเนินงาน  ปี 2548 ต่อยอดของเดิม.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
นโยบายเร่งรัดการส่งเสริมการเกษตร พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๒
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
- กรมส่งเสริมการเกษตร -
ระบบส่งเสริมการเกษตร
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ระบบส่งเสริมการเกษตร
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายวิชาการ
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ความร่วมมือกับกรมการปกครอง
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การดำเนินงาน เพื่อดูแลคุณภาพ ชีวิตเกษตรกร โดย นางสาวมยุรี บุญญาเสนีย์กุล นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 5 สำนักพัฒนาเกษตรกร กรม ส่งเสริมการเกษตร.
สรุปงานที่ ต้องทำต่อ ศูนย์เทคโนโลยีและการสื่อสาร กองแผนงาน กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริม การเกษตร.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบส่งเสริมการเกษตร โดย นางธุวนันท์ พานิชโยทัย ผู้อำนวยการกลุ่มงานวิจัยและพัฒนาระบบส่งเสริมการเกษตร กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร

ความเป็นมาระบบส่งเสริมการเกษตรของประเทศไทย 20 ตุลาคม 2510 จัดตั้งกรมส่งเสริมการเกษตร 2510-2517 ช่วงแรกของงานส่งเสริมการเกษตร ส่งเสริมผ่านกลุ่ม แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ถ่ายทอดความรู้เฉพาะจุด

ความเป็นมาระบบส่งเสริมการเกษตรของประเทศไทย(ต่อ) 2518 ส่งเสริมการเกษตรแบบเน้นหนักเฉพาะจุดในเขตชลประทาน ริเริ่มนำระบบ Training&Visiting system(T&V system) มาใช้

ความเป็นมาระบบส่งเสริมการเกษตรของประเทศไทย(ต่อ) 2520-2521 นำระบบ Training&Visiting system(T&V system) ระยะที่ 1 ใน 15 จังหวัด เจ้าหน้าที่ 1 คน รับผิดชอบเกษตรกร 1,000 ครอบครัว

ความเป็นมาระบบส่งเสริมการเกษตรของประเทศไทย(ต่อ) 2522-2536 ระบบ Training&Visiting system(T&V system) ระยะที่ 2 ทุกจังหวัด เจ้าหน้าที่ 1 คน รับผิดชอบเกษตรกร 1,000 ครอบครัว

ความเป็นมาระบบส่งเสริมการเกษตรของประเทศไทย(ต่อ) 2537 พัฒนาและปรับปรุงระบบ Training&Visiting system(T&V system) ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ คือ การทำงานในพื้นที่และ การสนับสนุนการทำงานในพื้นที

ความเป็นมาระบบส่งเสริมการเกษตรของประเทศไทย(ต่อ) 2548 พัฒนาและปรับปรุงระบบ Training&Visiting system(T&V system) เน้นการประชาสัมพันธ์และการเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์จังหวัด

ความเป็นมาระบบส่งเสริมการเกษตรของประเทศไทย(ต่อ) 2549 พัฒนาและปรับปรุงระบบ Training&Visiting system(T&V system) เน้นการประสานและสนับสนุนการดำเนินงานอาสาสมัครเกษตรกรและอาสาสมัครยุวเกษตรกร เพื่อช่วยเหลือการปฏิบัติงานของหน่วยงานและชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร การนำการจัดการความรู้เป็นเครื่องมือในการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร

ระบบส่งเสริมการเกษตรปี 2550 พัฒนาและปรับปรุงระบบ โดยมีพื้นฐานTraining&Visiting system(T&V system) องค์ประกอบของระบบส่งเสริมการเกษตรมี 2 ส่วนคือ -การทำงานในพื้นที่ -การสนับสนุนการทำงานในพื้นที่

ระบบส่งเสริมการเกษตรปี 2550(ต่อ) 3. นำการจัดการความรู้(Knowledge Management :KM)เป็นเครื่องมือในการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร

ระบบส่งเสริมการเกษตรปี 2550(ต่อ) องค์ประกอบที่ 1 การทำงานในพื้นที่ หมายถึงวิธีการทำงานของเจ้าหน้าที่ในระดับอำเภอ โดยใช้ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโดนโลยีการเกษตรประจำตำบลเป็นกลไกหลักในการทำงานในพื้นที่ หลักการ ส่งเสริมชุมชนให้มีส่วนร่วมและมีบทบาทหลักในการบริหารจัดการศูนย์บริการและถ่ายทอดฯ สร้างกระบวนการเรียนรู้แก่ชุมชนโดยจัดเวทีต่อเนื่องสม่ำเสมอเพื่อให้คิดเป็น ทำเป็นและแก้ปัญหาเองได้

ระบบส่งเสริมการเกษตรปี 2550(ต่อ) 3. ดำเนินกิจกรรมตามแผนชุมชนโดยพัฒนากลุ่มเครือข่ายมาขับเคลื่นกิจกรรม 4.ประสานและสนับสนุนการดำเนินงานของอาสาสมัครเกษตรกรและอาสาสมัครยุเกษตรกร 5.กำหนดบทบาทของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรคือ -เป็นผู้อำนวยความสะดวก -เป็นที่ปรึกษา แนะนำและกระตุ้น

ระบบส่งเสริมการเกษตรปี 2550(ต่อ) -เป็นนักวิชาการส่งเสริมการเกษตร ทำหน้าที่นักวิชาการตามความ เหมาะสมของพื้นที่ -เป็นผู้ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ -เป็นผู้ให้บริการและถ่ายทอดความรู้วิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน -เป็นผู้ติดตามและประเมินผลแบบมีส่วนร่วม

ระบบส่งเสริมการเกษตรปี 2550(ต่อ) 6.สำนักงานเกษตรอำเภอสนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์บริการและถ่ายทอดฯและดำเนินกิจกรรมดังนี้ 6.1 จัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับอำเภอ แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติงานประจำเดือน 6.2 ส่งเสริม พัฒนากลุ่ม เครือข่ายในการพัฒนาอาชีพ และคุณภาพชีวิต 6.3 ศึกษา วิจัยเพื่อพัฒนาและปรับปรุงงานส่งเสริม การเกษตร 6.4 ประสานและอำนวยความสะดวกในการบริการแก่ เกษตรกร 6.5 จัดประชุมสำนักงานเกษตรอำเภอประจำเดือน (district meeting)

ระบบส่งเสริมการเกษตรปี 2550(ต่อ) องค์ประกอบที่ 2 การสนับสนุนการทำงานในพื้นที่ หมายถึง การให้การสนับสนุนทำงานของเจ้าหน้าที่ในระดับอำเภอ โดยทุกส่วนให้การสนับสนุนตามบทบาทภารกิจตนเองได้แก่ การประชุมสัมมนา การสัมมนาเชิงปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตรระดับจังหวัด (provincial workshop, PW) ปีละ 1 ครั้ง การสัมมนาเชิงปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ(district workshop, DW) ทุก 1 เดือน การประชุมเกษตรจังหวัดและหัวหน้าส่วนราชการระดับเขต ทุก 2 เดือน

ระบบส่งเสริมการเกษตรปี 2550(ต่อ) องค์ประกอบที่ 2 การสนับสนุนการทำงานในพื้นที่(ต่อ) 4.การประชุมเกษตรอำเภอประจำเดือน(Monthly Meeting,MM) เดือนละ 1 ครั้ง การนิเทศงาน ดำเนินงานนิเทศงานในระดับจังหวัด ทุกอำเภอได้รับการนิเทศงาน อย่างน้อย 2 เดือนต่อครั้ง การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับอำเภอ แผนปฏิบัติงานประจำปี แผนปฏิบัติงานประจำเดือน

ระบบส่งเสริมการเกษตรปี 2550(ต่อ) องค์ประกอบที่ 2 การสนับสนุนการทำงานในพื้นที่(ต่อ) การศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาและปรับปรุงงานส่งเสริมการเกษตร เพื่อนำผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ในงานส่งเสริมการเกษตร การประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างความเข้าใจและเพื่อประโยชน์ในการบูรณาการ การเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์จังหวัด เพื่อให้งานส่งเสริมการเกษตรมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ จังหวัด

ระบบส่งเสริมการเกษตรปี 2550(ต่อ) องค์ประกอบที่ 2 การสนับสนุนการทำงานในพื้นที่(ต่อ) การจัดทำปฏิทินการปฏิบัติงานตามระบบส่งเสริมการเกษตร โดยในแต่ละเดือนมีการกำหนดกิจกรรมเป็นสัปดาห์ดังนี้ สัปดาห์ที่ 1 การติดตาม นิเทศงานและการประชุมDM สัปดาห์ที่ 2 จัดกิจกรรมในภาพรวมระดับเขตและประเทศ สัปดาห์ที่ 3 การจัด DW สัปดาห์ที่ 4 การติดตาม นิเทศงานและประชุม MM

สรุประบบส่งเสริมการเกษตรของประเทศไทย เริ่มเมื่อปี 2510 และมีการพัฒนาเป็นลำดับมา การพัฒนาคำนึงถึง นโยบายรัฐบาล สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ผลการวิจัย ความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติและศํกกกกกกกกกยภาพของบุคคลากร แนวโน้มการพัฒนาระบบส่งเสริมการเกษตรจะต้องเป็นไปตามรัฐธรรมนูญ เน้นการมีส่วนร่วม การบริหารงานที่โปร่งใส คำนึงถึงความต้องการของลูกค้าเป็นสิ่งสำคัญ การปรับเปลี่ยนเป็นไปตามวิสัยทัศน์ของกรมส่งเสริมการเกษตร

คำขวัญของกรมส่งเสริมการเกษตร มีคนอยู่ทั่วทิศ เป็นมิตรแท้ของเกษตรกร คำขวัญของกรมส่งเสริมการเกษตร มีคนอยู่ทั่วทิศ เป็นมิตรแท้ของเกษตรกร ปรัชญางานส่งเสริมการเกษตรของไทย ส่งเสริมให้เกษตรกรพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ภายใต้ภูมิสังคมของเกษตรกร โดยเจ้าหน้าที่ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาให้คำแนะนำส่งเสริมเท่านั้น ส่วนการตัดสินใจเป็นเรื่องของเกษตรกรและการส่งเสริมการเกษตรเน้นการส่งเสริมเป็นกลุ่มและใช้ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นกลไกหรือเป็นศูนย์กลางการพัฒนาการเกษตรในพื้นที่มีการใช้การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมการเกษตร

การส่งเสริมการเกษตรยึดหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา ระเบิดจากข้างใน ปลูกจิตสำนึก ปฏิบัติอย่างพอเพียง เน้นให้พึ่งตนเองได้ คำนึงถึงภูมิสังคม ทำตามลำดับขั้น ประหยัด เรียบง่าย ประโยชน์สูงสุด บริการที่จุดเดียว แก้ปัญหาจากจุดเล็ก ไม่ติดตำรา ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ เป้าหมายคือสังคมพอเพียง การมีส่วนร่วม รู้รักสามัคคี มุ่งประโยชน์สุขคนส่วนใหญ่ ที่มา: ดร.ปรียนุช พิบูลสราวุธ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์(2550 )