ระบบส่งเสริมการเกษตร โดย นางธุวนันท์ พานิชโยทัย ผู้อำนวยการกลุ่มงานวิจัยและพัฒนาระบบส่งเสริมการเกษตร กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
ความเป็นมาระบบส่งเสริมการเกษตรของประเทศไทย 20 ตุลาคม 2510 จัดตั้งกรมส่งเสริมการเกษตร 2510-2517 ช่วงแรกของงานส่งเสริมการเกษตร ส่งเสริมผ่านกลุ่ม แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ถ่ายทอดความรู้เฉพาะจุด
ความเป็นมาระบบส่งเสริมการเกษตรของประเทศไทย(ต่อ) 2518 ส่งเสริมการเกษตรแบบเน้นหนักเฉพาะจุดในเขตชลประทาน ริเริ่มนำระบบ Training&Visiting system(T&V system) มาใช้
ความเป็นมาระบบส่งเสริมการเกษตรของประเทศไทย(ต่อ) 2520-2521 นำระบบ Training&Visiting system(T&V system) ระยะที่ 1 ใน 15 จังหวัด เจ้าหน้าที่ 1 คน รับผิดชอบเกษตรกร 1,000 ครอบครัว
ความเป็นมาระบบส่งเสริมการเกษตรของประเทศไทย(ต่อ) 2522-2536 ระบบ Training&Visiting system(T&V system) ระยะที่ 2 ทุกจังหวัด เจ้าหน้าที่ 1 คน รับผิดชอบเกษตรกร 1,000 ครอบครัว
ความเป็นมาระบบส่งเสริมการเกษตรของประเทศไทย(ต่อ) 2537 พัฒนาและปรับปรุงระบบ Training&Visiting system(T&V system) ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ คือ การทำงานในพื้นที่และ การสนับสนุนการทำงานในพื้นที
ความเป็นมาระบบส่งเสริมการเกษตรของประเทศไทย(ต่อ) 2548 พัฒนาและปรับปรุงระบบ Training&Visiting system(T&V system) เน้นการประชาสัมพันธ์และการเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์จังหวัด
ความเป็นมาระบบส่งเสริมการเกษตรของประเทศไทย(ต่อ) 2549 พัฒนาและปรับปรุงระบบ Training&Visiting system(T&V system) เน้นการประสานและสนับสนุนการดำเนินงานอาสาสมัครเกษตรกรและอาสาสมัครยุวเกษตรกร เพื่อช่วยเหลือการปฏิบัติงานของหน่วยงานและชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร การนำการจัดการความรู้เป็นเครื่องมือในการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
ระบบส่งเสริมการเกษตรปี 2550 พัฒนาและปรับปรุงระบบ โดยมีพื้นฐานTraining&Visiting system(T&V system) องค์ประกอบของระบบส่งเสริมการเกษตรมี 2 ส่วนคือ -การทำงานในพื้นที่ -การสนับสนุนการทำงานในพื้นที่
ระบบส่งเสริมการเกษตรปี 2550(ต่อ) 3. นำการจัดการความรู้(Knowledge Management :KM)เป็นเครื่องมือในการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
ระบบส่งเสริมการเกษตรปี 2550(ต่อ) องค์ประกอบที่ 1 การทำงานในพื้นที่ หมายถึงวิธีการทำงานของเจ้าหน้าที่ในระดับอำเภอ โดยใช้ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโดนโลยีการเกษตรประจำตำบลเป็นกลไกหลักในการทำงานในพื้นที่ หลักการ ส่งเสริมชุมชนให้มีส่วนร่วมและมีบทบาทหลักในการบริหารจัดการศูนย์บริการและถ่ายทอดฯ สร้างกระบวนการเรียนรู้แก่ชุมชนโดยจัดเวทีต่อเนื่องสม่ำเสมอเพื่อให้คิดเป็น ทำเป็นและแก้ปัญหาเองได้
ระบบส่งเสริมการเกษตรปี 2550(ต่อ) 3. ดำเนินกิจกรรมตามแผนชุมชนโดยพัฒนากลุ่มเครือข่ายมาขับเคลื่นกิจกรรม 4.ประสานและสนับสนุนการดำเนินงานของอาสาสมัครเกษตรกรและอาสาสมัครยุเกษตรกร 5.กำหนดบทบาทของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรคือ -เป็นผู้อำนวยความสะดวก -เป็นที่ปรึกษา แนะนำและกระตุ้น
ระบบส่งเสริมการเกษตรปี 2550(ต่อ) -เป็นนักวิชาการส่งเสริมการเกษตร ทำหน้าที่นักวิชาการตามความ เหมาะสมของพื้นที่ -เป็นผู้ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ -เป็นผู้ให้บริการและถ่ายทอดความรู้วิชาการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน -เป็นผู้ติดตามและประเมินผลแบบมีส่วนร่วม
ระบบส่งเสริมการเกษตรปี 2550(ต่อ) 6.สำนักงานเกษตรอำเภอสนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์บริการและถ่ายทอดฯและดำเนินกิจกรรมดังนี้ 6.1 จัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับอำเภอ แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติงานประจำเดือน 6.2 ส่งเสริม พัฒนากลุ่ม เครือข่ายในการพัฒนาอาชีพ และคุณภาพชีวิต 6.3 ศึกษา วิจัยเพื่อพัฒนาและปรับปรุงงานส่งเสริม การเกษตร 6.4 ประสานและอำนวยความสะดวกในการบริการแก่ เกษตรกร 6.5 จัดประชุมสำนักงานเกษตรอำเภอประจำเดือน (district meeting)
ระบบส่งเสริมการเกษตรปี 2550(ต่อ) องค์ประกอบที่ 2 การสนับสนุนการทำงานในพื้นที่ หมายถึง การให้การสนับสนุนทำงานของเจ้าหน้าที่ในระดับอำเภอ โดยทุกส่วนให้การสนับสนุนตามบทบาทภารกิจตนเองได้แก่ การประชุมสัมมนา การสัมมนาเชิงปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตรระดับจังหวัด (provincial workshop, PW) ปีละ 1 ครั้ง การสัมมนาเชิงปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ(district workshop, DW) ทุก 1 เดือน การประชุมเกษตรจังหวัดและหัวหน้าส่วนราชการระดับเขต ทุก 2 เดือน
ระบบส่งเสริมการเกษตรปี 2550(ต่อ) องค์ประกอบที่ 2 การสนับสนุนการทำงานในพื้นที่(ต่อ) 4.การประชุมเกษตรอำเภอประจำเดือน(Monthly Meeting,MM) เดือนละ 1 ครั้ง การนิเทศงาน ดำเนินงานนิเทศงานในระดับจังหวัด ทุกอำเภอได้รับการนิเทศงาน อย่างน้อย 2 เดือนต่อครั้ง การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับอำเภอ แผนปฏิบัติงานประจำปี แผนปฏิบัติงานประจำเดือน
ระบบส่งเสริมการเกษตรปี 2550(ต่อ) องค์ประกอบที่ 2 การสนับสนุนการทำงานในพื้นที่(ต่อ) การศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาและปรับปรุงงานส่งเสริมการเกษตร เพื่อนำผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ในงานส่งเสริมการเกษตร การประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างความเข้าใจและเพื่อประโยชน์ในการบูรณาการ การเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์จังหวัด เพื่อให้งานส่งเสริมการเกษตรมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ จังหวัด
ระบบส่งเสริมการเกษตรปี 2550(ต่อ) องค์ประกอบที่ 2 การสนับสนุนการทำงานในพื้นที่(ต่อ) การจัดทำปฏิทินการปฏิบัติงานตามระบบส่งเสริมการเกษตร โดยในแต่ละเดือนมีการกำหนดกิจกรรมเป็นสัปดาห์ดังนี้ สัปดาห์ที่ 1 การติดตาม นิเทศงานและการประชุมDM สัปดาห์ที่ 2 จัดกิจกรรมในภาพรวมระดับเขตและประเทศ สัปดาห์ที่ 3 การจัด DW สัปดาห์ที่ 4 การติดตาม นิเทศงานและประชุม MM
สรุประบบส่งเสริมการเกษตรของประเทศไทย เริ่มเมื่อปี 2510 และมีการพัฒนาเป็นลำดับมา การพัฒนาคำนึงถึง นโยบายรัฐบาล สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ผลการวิจัย ความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติและศํกกกกกกกกกยภาพของบุคคลากร แนวโน้มการพัฒนาระบบส่งเสริมการเกษตรจะต้องเป็นไปตามรัฐธรรมนูญ เน้นการมีส่วนร่วม การบริหารงานที่โปร่งใส คำนึงถึงความต้องการของลูกค้าเป็นสิ่งสำคัญ การปรับเปลี่ยนเป็นไปตามวิสัยทัศน์ของกรมส่งเสริมการเกษตร
คำขวัญของกรมส่งเสริมการเกษตร มีคนอยู่ทั่วทิศ เป็นมิตรแท้ของเกษตรกร คำขวัญของกรมส่งเสริมการเกษตร มีคนอยู่ทั่วทิศ เป็นมิตรแท้ของเกษตรกร ปรัชญางานส่งเสริมการเกษตรของไทย ส่งเสริมให้เกษตรกรพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ภายใต้ภูมิสังคมของเกษตรกร โดยเจ้าหน้าที่ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาให้คำแนะนำส่งเสริมเท่านั้น ส่วนการตัดสินใจเป็นเรื่องของเกษตรกรและการส่งเสริมการเกษตรเน้นการส่งเสริมเป็นกลุ่มและใช้ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นกลไกหรือเป็นศูนย์กลางการพัฒนาการเกษตรในพื้นที่มีการใช้การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมการเกษตร
การส่งเสริมการเกษตรยึดหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา ระเบิดจากข้างใน ปลูกจิตสำนึก ปฏิบัติอย่างพอเพียง เน้นให้พึ่งตนเองได้ คำนึงถึงภูมิสังคม ทำตามลำดับขั้น ประหยัด เรียบง่าย ประโยชน์สูงสุด บริการที่จุดเดียว แก้ปัญหาจากจุดเล็ก ไม่ติดตำรา ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ เป้าหมายคือสังคมพอเพียง การมีส่วนร่วม รู้รักสามัคคี มุ่งประโยชน์สุขคนส่วนใหญ่ ที่มา: ดร.ปรียนุช พิบูลสราวุธ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์(2550 )