การอบรมเชิงปฏิบัติการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
Advertisements

การเขียนโครงร่างวิจัย
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของผู้สำเร็จการศึกษา สาขาวิชาพณิชยการและ การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) ตามความต้องการของ สถานประกอบการ.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ

ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
หลักการ เบื้องต้น ของการใช้สถิติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
รูปแบบการเขียนบทที่ 3.
สถิติเพื่อการวิจัยและ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วัตถุประสงค์การวิจัย
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การขอโครงการวิจัย.
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
SMS News Distribute Service
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
Miniresearch งานผู้ป่วยนอก.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การอบรมเชิงปฏิบัติการ การวิจัยสถาบัน Institutional Research โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล การวิจัย Research กระบวนการแสวงหาความรู้ / ความจริงอย่างเป็นระบบ เพื่อตอบคำถามที่มีอยู่และมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน โดยมีการกำหนดคำถามวิจัย วางแผน การวิจัย หรือเขียนโครงการวิจัย สร้างเครื่องมือ เพื่อรวบรวมข้อมูลในการวิจัย รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุปและเขียนรายงาน โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

การวิจัยเชิงปฏิบัติการ ACTION RESEARCH กระบวนการศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลสารสนเทศต่างๆ เพื่อตอบคำถาม (ปัญหา) ที่เกี่ยวข้องกับ ภาระงานที่ปฏิบัติอยู่ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนา คุณภาพของงานที่กำลังปฏิบัติอยู่และผู้วิจัย คือผู้ปฏิบัติงาน โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล การวิจัยสถาบัน: Institutional Research Administrative Research Operation Research หมายถึง การวิจัยที่มุ่งศึกษาปัญหา ที่เกี่ยวข้องโดยตรง กับแต่ละสถาบัน / หน่วยงาน เพื่อนำข้อสรุปที่ได้ มาใช้ประกอบการวางแผน การกำหนดนโยบาย รวมทั้งการตัดสินใจ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ซึ่งถือว่า เป็นการวิจัยเชิงประเมินและเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารจัดการ โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล วิจัยสถาบัน วิจัยสถาบัน ความหมายเดิม ตั้งแต่ปี 2515 – 2516 (Saup,1981) 1. การวิจัยภายในของสถาบันอุดมศึกษา 2. เน้นการรวบรวมข้อมูล เพื่อช่วยสถาบันในการ 2.1 วางแผน 2.2 กำหนดนโยบาย 2.3 การตัดสินใจ 3. เป็น Action Research ดร.รุ่ง แก้วแดง (2543) เสนอมุมมอง 2 ประเด็นเกี่ยวกับการวิจัยสถาบัน คือ 1. ศาสตร์การบริหาร 2. การปฏิรูปการศึกษา โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

วิจัยสถาบันกับศาสตร์การบริหาร ช่วงปี 2517 (1970) เน้นเรื่อง การวางแผนมาก โดยหน่วยงานวางแผนของ Unesco เป็นผู้เสนอและเผยแพร่ต่อมามีการพัฒนาให้ดำเนินการครบวงจร โดยใช้วงจรของ ดร.เดมมิ่ง คือ PDCA ซึ่งทำให้การบริหารงานประสบผลสำเร็จ การวิจัยสถาบัน หมายถึง กระบวนการบริหาร สถาบันอุดมศึกษา โดยใช้กระบวนการวิจัย โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

การวิจัยสถาบันกับการปฏิรูปการศึกษา พ.ร.บ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (ปรับปรุง พ.ศ. 2545) มาตรา 28 หลักสูตรอุดมศึกษามุ่งพัฒนาวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ต้องมีการค้นคว้า วิจัย เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และสังคม มาตรา 30 สถานศึกษา ต้องพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถทำการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน (การสอนโดยกระบวนการวิจัย) โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

การวิจัยสถาบันกับการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งผู้สอนและผู้บริหาร จะต้องมีวัฒนธรรมของการวิจัย กระบวนการวิจัยกับกระบวนการทางปัญญา เป็นเรื่องเดียวกัน โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

การวิจัยสถาบันกับการปฏิรูปการศึกษา (ต่อ) หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วย 1. การประกันคุณภาพภายใน หมายถึง กระบวนการบริหารสถาบัน (การกำหนดมาตรฐาน การควบคุม และการประเมินภายใน) ซึ่งจะต้องมี การรายงานประจำปี : SSR, SAR เสนอหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเผยแพร่ต่อสาธารณชน 2. การประกันคุณภาพภายนอก โดยองค์การมหาชน คือ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ทำการประเมินภายนอก อย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุก 5 ปี โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

การวิจัยสถาบันกับการปฏิรูปการศึกษา (ต่อ) ดังนั้น การประกันคุณภาพภายใน และการประกันคุณภาพภายนอก เป็นการประกันคุณภาพการศึกษา ในทุกภารกิจของสถาบันการศึกษา ซึ่งต้องใช้กระบวนการวิจัยสถาบัน และการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

การวิจัยสถาบันกับการปฏิรูปการศึกษา (ต่อ) ผู้บริหารต้องบริหารโดยใช้การวิจัยของผู้สอน ของผู้เรียน เนื่องจากการวิจัยสถาบันเป็นของทุกคน แต่ที่ต้องทำและใช้มากกว่าใคร คือ ผู้บริหาร โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยสถาบัน 1. เป็นการทำวิจัยในหน่วยงาน สถาบัน หรือองค์กรใด องค์กรหนึ่งโดยเฉพาะ 2. เป็นการทำวิจัยตามขอบเขต ลักษณะหน้าที่ หรือ โครงสร้างของงานที่รับผิดชอบหรือปัญหาที่เกิดขึ้นในแต่ละองค์กร /สถาบัน 3. เป็นการวิจัยทั้งปัญหาเฉพาะหน้า หรือการที่จะวางนโยบาย หรือ แผนระยะยาวของสถาบัน 4. ผลการวิจัยที่ได้นำมาแก้ปัญหาหรือกำหนดนโยบายหรือพัฒนาองค์กร /สถาบันนั้นๆ เท่านั้น แต่อาจเป็นแนวทางในการวิจัยสถาบันอื่นได้ โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยสถาบัน (ต่อ) 5. คณะผู้วิจัย เป็นนักวิจัยหรือนักวิชาการ ที่สังกัดภายในหน่วยงานหรือสถาบันนั้นๆ (มีที่ปรึกษาจากที่อื่นได้) 6. คณะผู้วิจัยควรเป็นนักวิจัยด้านสังคมศาสตร์ จิตวิทยา สถิติการศึกษา สังคมวิทยา มนุษยศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ กฎหมาย หรือการปกครอง เป็นต้น 7. แนวคิดหรือเป้าหมายหลักของการวิจัยสถาบัน คือ เพื่อให้ผู้บริหารนำข้อสนเทศ/ข้อค้นพบ จากการวิจัยไปใช้ประกอบในการแก้ปัญหา กำหนดนโยบายพัฒนาสถาบัน หรือตัดสินใจในภาวการณ์ที่คับขัน เป็นต้น โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

หลักการทั่วไปของการวิจัยสถาบัน 1. ใช้ระยะเวลาสั้น (อาจไม่เกิน 6 เดือน) 2. ขั้นตอนการนำเสนอโครงการต้องรวดเร็ว ไม่มีขั้นตอนมาก - เขียนโครงการ 1-2 แผ่น 3. งบประมานต้องอนุมัติเร็วและเพียงพอ 4. นักวิจัยอาจทำเดี่ยว หรือเป็นคณะผู้วิจัย 5. ผู้ทำการวิจัยควรได้รับการลดภาระงานสอนลง 6. เครื่องมือ อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์และคนต้องพร้อม โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

วัตถุประสงค์ของการวิจัยสถาบัน 1. เพื่อแก้ปัญหา เมื่อสถาบัน / หน่วยงานมีปัญหา - นักศึกษาออกกลางคัน - ผู้สมัครเข้าเรียนลดลง ฯลฯ 2. เพื่อการตัดสินใจ อาจไม่มีปัญหา แต่ต้องการตัดสินใจบางเรื่อง - การเปิดหลักสูตรใหม่ - การขยายวิทยาเขต โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

วัตถุประสงค์ของการวิจัยสถาบัน (ต่อ) 3. เพื่อวางแผนอนาคต เป็นการเตรียมความพร้อมในการจัดการศึกษาได้อย่างเหมาะสม - การศึกษาแนวโน้มเศรษฐกิจ - การศึกษาแนวโน้มสังคม ฯลฯ 4. เพื่อประกันคุณภาพการศึกษา เนื่องจาก พ.ร.บ. การศึกษา พ.ศ. 2542 กำหนดให้ทุกสถาบันต้องรับการประเมินภายนอก ทุก 5 ปี ซึ่งต้องใช้กระบวนการวิจัย ในการแก้ปัญหา/พัฒนาสถาบันอย่างต่อเนื่อง โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

ขอบเขตของการวิจัยสถาบัน 1. การวิจัยเกี่ยวกับนักศึกษา (Student) - ข้อมูลพื้นฐานหรือภูมิหลัง - ข้อมูลการเข้าเรียน,การลาออก - ความคาดหวังของ นักศึกษา - ความพึงพอใจ / ทัศนคติต่อสถาบัน หรือ รูปแบบการเรียน การสอน - ความต้องการของหน่วยงานที่ใช้ ผู้สำเร็จการศึกษา โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

ขอบเขตของการวิจัยสถาบัน(ต่อ) 2. การวิจัยเกี่ยวกับบุคลากร (Staff) - ข้อมูลจำนวนครูอาจารย์ วุฒิ ความเชี่ยวชาญ / ความสนใจ - ข้อมูลสภาพความเป็นอยู่ สภาพทางสังคม – เศรษฐกิจ - ข้อมูลค่าตอบแทน เงินเดือน ค่าจ้าง – สวัสดิการ - ข้อมูลความต้องการพัฒนา / ความก้าวหน้า - ข้อมูลขวัญและกำลังใจ ความจงรักภักดีต่อสถาบัน ฯลฯ โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

ขอบเขตของการวิจัยสถาบัน (ต่อ) 3. การวิจัยเกี่ยวกับหลักสูตร/โปรแกรมการศึกษา (Program) - ข้อมูลหลักสูตรและเนื้อหาของหลักสูตรในปัจจุบันและอนาคต - ข้อมูลจำนวนสถิติที่ลงทะเบียนในแต่ละโปรแกรม จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา จำนวนห้องเรียน - ข้อมูลกิจกรรมเสริมหลักสูตร - ข้อมูลทิศทางการพัฒนา/ผลิตบัณฑิต /รูปแบบการผลิต ฯลฯ โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

ขอบเขตของการวิจัยสถาบัน (ต่อ) 4. การวิจัยเกี่ยวกับการเงิน / งบประมาณ (Finance) - วิเคราะห์งบประมาณค่าใช้จ่ายในอดีต – ปัจจุบัน - แหล่งเงินทุน –รายได้ การหาทุน – รายจ่าย - การคาดคะเนงบประมาณ - วิธีการบริหารและดำเนินการด้านงบประมาณ ค่าใช้จ่ายต่อหัว ฯลฯ โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

ขอบเขตของการวิจัยสถาบัน (ต่อ) 5. การวิจัยเกี่ยวกับอาคารสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก(Facility) 6. การวิจัยเกี่ยวกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 7. การวิจัยเกี่ยวกับการบริหารจัดการ 8. การวิจัยเกี่ยวกับการวิจัยและผลิตผลงานทางวิชาการ 9. การวิจัยเกี่ยวกับการบริการทางวิชาการ/วิชาชีพแก่ชุมชน 10. การวิจัยเกี่ยวกับการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

ตัวอย่างงานวิจัยสถาบัน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1. การสำรวจและวิจัยลักษณะหน้าที่และปริมาณงานของอาจารย์ประจำ ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. การใช้เวลานอกเวลาเรียนของนิสิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3. การประเมินโครงการทุนการศึกษาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อไปศึกษาระดับปริญญาชั้นสูง ณ ต่างประเทศ 4. การสำรวจสภาวะการหางานทำของบัณฑิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รุ่นปีการศึกษา 2530 - 2534 โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

ตัวอย่างงานวิจัยสถาบัน (ต่อ) โรงเรียนนายเรือ 1. การสำรวจความคิดเห็นที่เกี่ยวกับการได้รับข้อมูลข่าวสารการรับสมัครนักเรียนเตรียมทหารในส่วนของกองทัพเรือ 2. การวิเคราะห์สาเหตุที่ทำให้ผู้สมัครเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหารในส่วนของกองทัพเรือไม่ผ่านการตรวจร่างกาย 3. การเปรียบเทียบคุณภาพของนักเรียนนายเรือบุตรทหาร – ตำรวจ กับบุตรพลเรือน 4. การวิเคราะห์ความต้องการสวัสดิการด้านรถรับ – ส่ง นักเรียนนายเรือ โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

ตัวอย่างงานวิจัยสถาบัน (ต่อ) โรงเรียนนายเรือ 5. การวิจัยระบบประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนนายเรือ และโรงเรียนเหล่าทัพ 6. การติดตาม และประเมินผลผู้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายเรือที่ออกไปปฏิบัติงานในระยะเวลา 1 ปีแรก และ 5 ปี โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล ตัวอย่างงานวิจัยสถาบัน (ต่อ) การสำรวจความคิดเห็นของนักศึกษาโครงการ กศ.ปช. สถาบันราชภัฏรำไพพรรณี เกี่ยวกับการจัดการ การติดตามผลบัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี รุ่นปีการศึกษา 2539 สภาวะการทำงาน ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนและแนวทางการพัฒนาวิชาชีพศึกษาศาสตร์ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา จากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

ตัวอย่าง งานวิจัยสถาบัน (ต่อ) การศึกษาความต้องการเข้าศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษา ในสาขาไทยศึกษา ของสถาบันราชภัฎธนบุรี การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้บริการของเจ้าหน้าที่ฝ่าย/ศูนย์ ต่างๆ ของนักศึกษาภาคปกติ และกศ.ปช สถาบันราชภัฎนครราชสีมา การศึกษาติดตามผลสถานภาพและคุณลักษณะของบัณฑิต สถาบันราชภัฎเพชรบุรี วิทยาลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

ตัวอย่าง งานวิจัยสถาบัน (ต่อ) ภาพลักษณ์ของสถาบันราชภัฎนครราชสีมาตามการรับรู้ของนักศึกษา สถาบันราชภัฎนครราชสีมา การศึกษาเชิงประเมินประสิทธิผลของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงสาขาวิชาคอมพิวเตอร์และสาขาวิชาบริหารธุรกิจในวิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดชัยภูมิ การวิเคราะห์ภาระงานอาจารย์สถาบันราชภัฎนครราชสีมา ปีการศึกษา 2542 โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

ตัวอย่าง งานวิจัยสถาบัน (ต่อ) การศึกษาทัศนคติและความคาดหวังต่อบทบาทของ สถาบันราชภัฎสกลนคร การศึกษาติดตามผลสถานภาพและคุณลักษณะของบัณฑิต สถาบันราชภัฎเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล ตัวแปร (Variable) ตัวแปร (Variable) หมายถึง คุณลักษณะหรือสภาพของสิ่งต่างๆ ที่แตกต่างกันและสามารถวัด หรือ กำหนดค่าได้หลายค่า / หลายลักษณะ ตั้งแต่ 2 ค่า หรือ 2 ลักษณะขึ้นไป “คุณลักษณะที่ต้องการศึกษา” โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล ตัวอย่างตัวแปร ชาย หญิง เพศ ต่ำกว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี ระดับการศึกษา มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด ความสนใจ โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

“ทุกปัญหาวิจัยที่ทำการศึกษา ต้องมีตัวแปรอย่างน้อย 1 ตัว ตัวอย่างตัวแปร อายุ แตกต่างกันไป  ความพึงพอใจในการทำงาน  ความคิดของนักศึกษาต่อการให้บริการห้องสมุด.. “ทุกปัญหาวิจัยที่ทำการศึกษา ต้องมีตัวแปรอย่างน้อย 1 ตัว ตัวแปรในการวิจัย มีความสำคัญเพราะเป็นตัวชี้ให้ทราบถึงประเด็นปัญหาที่ศึกษา” โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล ประเภทของตัวแปร ตัวแปรอิสระ (Independent Variable)  ตัวแปรที่เป็นต้นเหตุหรือส่งผลต่อ ตัวแปรอื่น ตัวแปรตาม (Dependent Variable)  ตัวแปรที่เป็นผล หรือ เกิดจากอิทธิพลของตัวแปรอิสระ โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล ตัวแปร (ตัวอย่าง) ชื่อเรื่อง : การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา เครื่องยนต์เล็ก ของนักศึกษาระดับ ปวช. จากการสอนโดยใช้ CAI และการสอนปกติ ตัวแปรอิสระ คือ วิธีการสอน (CAI และการสอนปกติ) ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(วิชาเครื่องยนต์เล็ก) โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

ตัวแปร (ตัวอย่าง) ตัวแปรอิสระ คือ รูปแบบการฝึก ชื่อเรื่อง : ผลของการฝึกอาชีพระยะสั้น วิชาการประดิษฐ์ตุ๊กตาจิ๋ว ของ ประชาชนเทศบาลตำบลสูงเนิน โดยใช้รูปแบบการฝึก 3 วิธี ตัวแปรอิสระ คือ รูปแบบการฝึก ตัวแปรตาม คือ ผลของการฝึกอาชีพระยะสั้น โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล การวัดค่าตัวแปร มาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale) มาตราเรียงอันดับ (Ordinal Scale) มาตราอันตรภาค (Interval Scale) มาตราอัตราส่วน (Ratio Scale) โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

มาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale) เป็นการจัดกลุ่ม หรือ จำแนกประเภท  เพศ - ชาย แทน 1 - หญิง แทน 2  ศาสนา - พุทธ - คริสต์ - อิสลาม โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

มาตราเรียงอันดับ (Ordinal Scale) เป็นการจัดลำดับที่ของสิ่งที่ต้องการวัด  ความสวยงาม  ผลการประกวดวาดรูป  ฐานะทางเศรษฐกิจ (สูง กลาง ต่ำ) (บอกได้ว่ามากกว่า / น้อยกว่า แต่ไม่สามารถบอกได้ว่าความแตกต่างระหว่างกลุ่มมีค่าเท่าใด : ช่วงห่างไม่เท่ากัน) โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

มาตราอันตรภาค (Interval Scale) เป็นค่าที่ได้จากการวัดสิ่งที่ตัวการศึกษา ที่มีช่วงห่างเท่ากัน  คะแนนสอบวิชาบัญชี 1 คะแนนเต็ม 30 คะแนน สมพรได้ 10 คะแนน อัมพร ได้ 25 คะแนน ผู้วิจัยบอกได้ว่าอัมพร ได้คะแนนมากกว่า สมพร อยู่ 15 คะแนน  อุณหภูมิ บอกความแตกต่างระหว่างกลุ่มได้ และมีช่วงเท่ากัน แต่ไม่มีศูนย์แท้ โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

มาตราอัตราส่วน (Ratio Scale) เป็นค่าที่ได้จากการวัดเหมือน มาตราอันตรภาคแต่ดีกว่า คือ มีศูนย์แท้ (Absolute Zero) 0 มีค่าเป็น 0 ตามความหมายทางคณิตศาสตร์ - รายได้ - อายุ - ความสูง โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

สมมติฐาน (Hypothesis) คำตอบที่คาดคะเนไว้ล่วงหน้าอย่าง มีเหตุผล และสามารถทดสอบได้ โดยเป็น การบอกถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร และไม่จำเป็นต้องเป็นจริงเสมอไป โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

สมมติฐาน (Hypothesis) สมมติฐานการวิจัย (Research Hypothesis) สมมติฐานทางสถิติ (Statistical Hypothesis) โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

สมมติฐานการวิจัย(Research Hypothesis) คำตอบที่ผู้วิจัยคาดคะเนไว้และเขียนเป็นข้อความแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ตั้งแต่ 2 ตัว ขึ้นไป โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

สมมติฐานการวิจัย (Research Hypothesis) 1. สมมติฐานแบบมีทิศทาง (Directional Hypothesis) ระบุทิศทาง ดีกว่า สูงกว่า น้อยกว่า 2. สมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง (Non directional Hypothesis) ไม่ระบุทิศทาง แตกต่าง ไม่แตกต่าง โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

ตัวอย่าง สมมติฐานการวิจัย ตัวอย่าง สมมติฐานการวิจัย แบบมีทิศทาง นักศึกษาที่เรียนด้วยวิธีสอนแบบ CAI จะมีผลสัมฤทธิ์ สูงกว่านักศึกษาที่เรียนด้วยวิธีสอนแบบบรรยาย แบบไม่มีทิศทาง นักเรียนที่ได้รับการอบรมเลี้ยงดูด้วยรูปแบบต่างกันจะมีวินัยในตนเองแตกต่างกัน โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

สมมติฐานทางสถิติ (Statistical Hypothesis) 1. สมมติฐานศูนย์หรือสมมติฐานเป็นกลาง (Null Hypothesis) สัญญาลักษณ์ คือ H0 สมมติฐานทางเลือก หรือ สมมติฐานอื่น (Alternative Hypothesis) สัญญาลักษณ์ คือ H1 หรือ Ha โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล สมมติฐานที่ดี สมมติฐานที่ดี 1. สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย และ ตอบปัญหาการวิจัย 2. สามารถทดสอบได้ด้วยข้อมูลที่รวบรวมมา 3. อยู่บนพื้นฐานหลักเหตุผล ทฤษฎี หลักการ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4. ใช้ภาษาเข้าใจง่าย รัดกุมชัดเจน โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร (Population) หมายถึง กลุ่มเป้าหมายที่สนใจศึกษาทั้งหมด เช่น คน สัตว์ สิ่งของ เป็นต้น ประเภทของประชากร ประชากรที่มีจำนวนจำกัด (Finite Population) - ประชากรที่สามารถหาจำนวนสมาชิกได้ ประชากรที่มีจำนวนไม่จำกัด (Infinite Population) - ประชากรที่ไม่สามารถหาจำนวนสมาชิกได้ โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

คุณลักษณะของประชากร 1. ประชากรที่มีลักษณะเอกพันธ์ 1. ประชากรที่มีลักษณะเอกพันธ์ (Homogeneous Population) 2. ประชากรที่มีลักษณะวิวิธพันธ์ (Heterogeneous Population) โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

กลุ่มตัวอย่าง (Sample)  ส่วนหนึ่งหรือเซตย่อยของประชากร โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

การศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง ประหยัดค่าใช้จ่าย เวลา และแรงงาน มีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

ลักษณะของกลุ่มตัวอย่างที่ดี เป็นตัวแทนที่ดีของประชากร (Representation) มีขนาดพอเหมาะ โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

การเลือกกลุ่มตัวอย่าง 1. การเลือกแบบไม่ยึดหลักความน่าจะเป็น (Nonprobability Sampling)  การเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling)  การเลือกแบบบังเอิญ (Accidental Sampling)  การเลือกแบบกำหนดโควตา (Quota Sampling) โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

การเลือกกลุ่มตัวอย่าง 2. การเลือกแบบยึดหลักความน่าจะเป็น (Probability Sampling) 2.1 การสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling)  จับสลาก  การใช้ตารางเลขสุ่ม  การใช้คอมพิวเตอร์สุ่ม โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

การเลือกกลุ่มตัวอย่าง 2.2 การสุ่มอย่างเป็นระบบ (Systematic Random Sampling) 2.3 การสุ่มแบบแบ่งชั้น หรือ ชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) 2.4 การสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) 2.5 การสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multistage Random Sampling) โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

เกณฑ์กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง จำนวนประชากร ขนาดกลุ่มตัวอย่าง หลักร้อย หลักพัน หลักหมื่น 15-30% 10-15% 5-10% อ้างอิง : ดร.บุญชม ศรีสะอาด โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

ขั้นตอนการสุ่มตัวอย่าง ศึกษาปัญหาการวิจัยอย่างละเอียดและรอบคอบ ศึกษาจุดมุ่งหมายของการวิจัยอย่างละเอียด จะทำให้ทราบคุณลักษณะของประชากรที่ต้องการศึกษา นิยามประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กำหนดหน่วยการสุ่ม โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

ขั้นตอนการสุ่มตัวอย่าง จัดทำบัญชีหน่วยการสุ่ม ให้ครอบคลุม กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง วางแผนการสุ่ม ดำเนินการสุ่มตัวอย่างตามเทคนิค / วิธีการสุ่ม และแผนการสุ่มที่กำหนดไว้ โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล แบบสอบถาม (Quesionare) แบบสัมภาษณ์ (Interview) แบบทดสอบ (Test) แบบสังเกต (Observation) โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล แบบสอบถาม แบบปลายปิด แบบตรวจสอบรายการ (Check list) แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) แบบออสกูด (Osgood Scale) แบบปลายเปิด ให้ผู้ตอบเติมข้อความ / อธิบายตามประเด็นที่ต้องการศึกษา โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

การหาคุณภาพของแบบสอบถาม  ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity)  ความเชื่อมั่น (Reliability) โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity)  ความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับนิยามศัพท์  วิธีตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ใช้ดุลยพินิจของผู้เชี่ยวชาญ (Judged by Specialist) โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

การหาดัชนีความสอดคล้อง การหาดัชนีความสอดคล้องระหว่าง ข้อคำถามกับนิยามศัพท์ เมื่อ IOC หมายถึง ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับนิยามศัพท์ หมายถึง ผลรวม คะแนนการประเมินของผู้เชี่ยวชาญ N หมายถึง จำนวนผู้เชี่ยวชาญ โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

เกณฑ์การพิจารณาค่า IOC + 1 หมายถึง แน่ใจว่าข้อคำถามวัดได้ตรงกับ นิยามศัพท์ 0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าข้อคำถามวัดได้ตรงกับ 1 หมายถึง แน่ใจว่าข้อคำถามวัดได้ไม่ตรงกับ โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

การแปลความหมายค่า IOC โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

ความเชื่อมั่น (Reliability) ใช้สูตรของครอนบาค (Cronbach) “สัมประสิทธิ์แอลฟา” เมื่อ หมายถึง สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น หมายถึง จำนวนข้อ หมายถึง ความแปรปรวนของคะแนนแต่ละข้อ หมายถึง ความแปรปรวนของคะแนนรวม โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล แบ่งเป็น 1. สถิติบรรยาย (Descriptive Statistics) 2. สถิติอ้างอิง (Infertial Statistics) โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล ประชากร (Population) กลุ่มตัวอย่าง (Sample) สุ่ม (Sampling) ค่าพารามิเตอร์ (Parameter) ค่าสถิติ (Statistic) อ้างอิง (Inference) โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล ค่าพารามิเตอร์ (Parameter) : ค่าที่คำนวณได้จากประชากร เช่น เป็นต้น ค่าสถิติ (Statistics) : ค่าที่คำนวณได้จากกลุ่มตัวอย่าง เช่น เป็นต้น โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

สถิติบรรยาย (Descriptive Statistics) เป็นสถิติที่ใช้บรรยายลักษณะของประชากร/ กลุ่มตัวอย่าง ที่ศึกษาเท่านั้น ไม่ได้อ้างอิงหรือพยากรณ์ไปยังกลุ่มอื่น โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล สถิติบรรยาย ร้อยละ การจัดตำแหน่ง ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร การแจกแจงความถี่ การหาค่ากลางของข้อมูล การกระจายของข้อมูล โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล ค่าเฉลี่ย (Mean) แทน ค่าเฉลี่ย แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด แทน จำนวนข้อมูล โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

ค่าร้อยละ (Percentage) แทน ค่าร้อยละ แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด แทน จำนวนข้อมูล โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล ตัวอย่าง ตัวอย่าง จงหาค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบวิชาบัญชี 1 ของนักศึกษาจำนวน 5 คน ได้แก่ 4, 12, 11, 7, 6 โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) แทน จำนวนคน แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละค่ายกกำลังสอง โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

สถิติอ้างอิง (Inferential Statistics) : เป็นสถิติใช้ในการประมาณค่า / คาดคะเน / สรุปอ้างอิง จากกลุ่มตัวอย่างเพียงบางส่วนไปยังประชากรที่ต้องการศึกษาทั้งหมด สถิติอ้างอิง ใช้ในการ การประมาณค่า การทดสอบสมมติฐาน เช่น t-test, Z-test, F-test เป็นต้น โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

แนวทางการเขียนเค้าโครงการวิจัย Proposal ชื่อเรื่อง 1. เขียนเป็นประโยคบอกเล่า 2. บ่งบอกลักษณะงานวิจัยว่าเป็นการศึกษาวิจัยแบบใด (การวิจัยเชิงทดลอง , การวิจัยเชิงประเมิน,การวิจัยเชิงบรรยาย) 3. ระบุตัวแปรที่ศึกษา 4. บ่งชี้ถึงขอบเขตของการวิจัย 5. เขียนด้วยข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา 1. อธิบายสภาพปัญหาในการประเด็นที่ทำการวิจัย 2. ระบุแนวคิด หลักการ ทฤษฎี หรือผลการวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นวิธีการ หรือ แนวทางใหม่ ในการแก้ปัญหา/พัฒนางาน 3. สรุปกรอบความคิดในการวิจัย/พัฒนา เช่น ถ้าศึกษาเรื่องนี้แล้วจะทำให้เกิดผลดีในการแก้ปัญหาอย่างไร โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล สมมติฐานการวิจัย สมมติฐานการวิจัย  เป็นข้อความที่ผู้วิจัยคาดคะเนคำตอบไว้ล่วงหน้า ภายใต้หลัก เหตุผล แนวคิดทฤษฎีหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้อง  การวิจัยเชิงสำรวจ ไม่จำเป็นต้องระบุสมมติฐานก็ได ส่วนการวิจัยเชิงทดลอง ต้องระบุสมมติฐานการวิจัยด้วย เช่น วิธีการลดค่าสาธารณูปโภค แบบที่ 1 ให้ผลดีกว่า วิธีลดแบบที่ 2 โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล ขอบเขตของการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง (ใคร ที่ไหน) 2. ตัวแปรที่ศึกษา (อะไร) 3. ช่วงเวลาในการศึกษา (เมื่อไร) โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล วิธีดำเนินการวิจัย วิธีดำเนินการวิจัย 1. การกำหนดประชากร และกลุ่มตัวอย่าง (ได้มาอย่างไร) 2. เครื่องมือและการสร้าง 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล 4. การวิเคราะห์ข้อมูล โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

วัตถุประสงค์การวิจัย ระบุสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา 1. นิยมเขียนเป็นประโยคบอกเล่า 2. ระบุตัวแปรที่ศึกษา 3. เขียนแยกเป็นข้อๆ หรือความเรียงก็ได้ 4. ไม่ควรนำประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับมาเขียนเป็นวัตถุประสงค์ ตัวอย่าง เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการใช้บริการห้องสมุด เพื่อศึกษาความต้องการในการพัฒนาตนเองของครูอาจารย์ โรงเรียนเทคโนโลยีชนะพลขันธ์ เพื่อเปรียบเทียบผลการฝึกความมีวินัยของนักศึกษาระหว่างวิธีการ A กับ วิธีการ B โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

นิยามศัพท์ และ ประโยชน์ นิยามศัพท์เฉพาะ เป็นการให้คำอธิบายความหมายของคำหรือพจน์ที่มีความหมายเฉพาะการวิจัยครั้งนี้ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจความหมายตรงกัน ดังนั้นควรให้คำนิยามอย่างชัดเจน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ประโยชน์โดยตรง ระบุให้สอดคล้องตามวัตถุประสงค์การวิจัย 2. ประโยชน์เชิงประยุกต์ เป็นการระบุว่าข้อค้นพบที่ได้สามารถนำไปใช้ประโยชน์อะไรบ้าง 3. ประโยชน์ทางอ้อม /ผลพลอยได้ ที่เกิดขึ้นหากดำเนินการวิจัยตามแผนที่กำหนดไว้ โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล

โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล ขอบคุณ โดย ดร.ญาณภัทร สีหะมงคล