E e -Learning Electronic Learning.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
( นางเอื้อมพร วงศ์สวัสดิ์กุล ) ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ.
Advertisements

การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
ชื่อเรื่อง สภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาของครู ผู้วิจัย
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การดำเนินงานด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ และ คอมพิวเตอร์ ปีงบประมาณ 2551 กองบำรุงพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย เด็กหญิงอภิญญา เพชรทอง ชั้นม.1/12 เลขที่ 3 เด็กหญิงณัฐกาญจน์ สุนะธรรม ชั้นม.1/12 เลขที่
การพัฒนาเว็บฝึกอบรม เรื่อง การใช้งานระบบงานทะเบียนประมวลผลและหลักสูตร

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย ด. ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่ 8 ด. ญ. เกศกมล ใจปินตา ม.1/2 เลขที่ 10 เสนอ อาจารย์ อรอุมา.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
(Information Retrieval : IR)
E-learning การเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Learning) เป็นการศึกษา เรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต (Intranet)
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
E e -Learning Electronic Learning.
การประชุมการบริหารการสอนรายวิชาตาม โครงการ self access learning
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Learning Management System : LMS
การผลิตบทเรียนช่วยสอน (C.A.I.)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
เทคนิคการสอนยุค IT ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
บทที่ 6 การพัฒนาระบบการสอนบนเครือข่าย
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
การบริหารจัดการเว็บไซต์หน่วยงานในสังกัดกรมปศุสัตว์
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
Instruction design แผนจัดการเรียนรู้ Active Learning
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
SMS News Distribute Service
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
4 เทคโนโลยีสารสนเทศ สังคมเครือข่าย
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การบริหารจัดการระบบสารสนเทศ (ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์)
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
ADDIE model หลักการออกแบบของ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

e e -Learning Electronic Learning

E-Learning การนำเอาเทคโนโลยีเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเข้ามาช่วยในการเรียนการสอน การถ่ายทอดความรู้ การอบรม การทดสอบและประเมินผลผ่านเว็บเพจ

การเรียนแบบ e-Learning เป็นอย่างไร? การศึกษาเรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Internet หรือ Intranet เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได้เรียนตามความสามารถ และความสนใจของตน เนื้อหาของบทเรียน ประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพ เสียงวิดีโอ และมัลติมีเดียอื่นๆ จะถูกส่งไปยังผู้เรียนผ่าน Web Browser

การเรียนรู้ผ่านเว็บ www.thaiwbi.com

บทเรียน “คอมพิวเตอร์เบื้องต้น”

เลือกทำ “Pretest”

เลือกทำ “Posttest”

ลักษณะสำคัญของ e-Learning เรียนได้ทุกคน ทุกที่ ทุกเวลา การใช้สื่อประสม สามารถเลือกเรียนได้ตามต้องการ สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้ได้ มีเครื่องวัดผลการเรียน

สรุป e-Learning คืออะไร? e-Learning คือ กระบวนการการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) และสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ที่เหมาะสม ซึ่งช่วยลดข้อจำกัดด้านเวลาและสถานที่ระหว่างผู้เรียนและผู้สอน ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความต้องการและความจำเป็นของตนได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต

CAI แตกต่างอย่างไรกับ WBI Computer Assisted Instruction Web Based Instruction OFF LINE ON LINE เรียนคนเดียว หลายคนพร้อมกัน ปฏิสัมพันธ์กับเครื่อง ปฏิสัมพันธ์ทั้งเครื่องและคน ติดต่อไม่ได้ในทันที ติดต่อได้ทันที ข้อมูลเฉพาะที่มีให้/ไม่มีการ update Authorware,Flash ข้อมูลมีทั่วโลก/update ตลอดเวลา

ประโยชน์ของ e-Learning - สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา - สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง - กำหนดความต้องการในการเรียนรู้ได้ - ติดต่อสื่อสารระหว่างผู้เรียน/ผู้สอนได้ - ประหยัดงบประมาณ ราคาถูกและใช้งานได้ง่าย - ใช้เป็นสื่อหลัก/สื่อเสริมก็ได้

ข้อพึงระวัง ผู้สอนที่ไปใช้ในลักษณะของสื่อเสริม โดยไม่มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอนเลย ผู้สอนจะต้องเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้ให้ (Impart) เนื้อหาแก่ ผู้เรียน มาเป็น (Facilitator) ผู้ช่วยเหลือ การลงทุนในด้านของ E-Learning ต้องครอบคลุมถึงการจัดการ การออกแบบ E-Learning ที่ไม่เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียน

ทีมพัฒนา ผู้สอน programmer ผู้เชี่ยวชาญสื่อ นักออกแบบการสอน นักออกแบบกราฟฟิค

องค์ประกอบของระบบ e-Learning 1. กระบวนการจัดการเรียนรู้ 2. ระบบเครือข่าย 3. สื่อการสอน 4. การติดต่อสื่อสาร 6. ผู้เรียน 5. บุคลากรที่เกี่ยวข้อง 7. แหล่งเรียนรู้

ความรู้เบื้องต้นสำหรับผู้สร้าง e-Learning Computer Literacy HTML Internet /Browser e-mail

ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาเนื้อหาบทเรียน e-Learning Forecasting Planning Executing Gathering Reporting Follow-up Analysis Development Implementation Evaluation Design

ขั้นตอนการเรียนจากบทเรียนสำเร็จรูป ขั้นกระบวน การเรียนรู้ ขั้นสะท้อนความคิด ขั้นนำ อ่านวัตถุประสงค์ ทำกิจกรรม บททบทวน ข้อสอบ เนื้อหาใหม่ เนื้อหาเก่า

การจัดโครงสร้างเนื้อหา xxx yyy image Chapter-3 Chapter-1 Chapter-2 165432 ง่ายต่อการแก้ไข ใช้ทรัพยากรร่วมกัน เป็นหมวดหมู่

แบบฝึก-แบบทดสอบท้ายบท แบบฝึก-แบบทดสอบท้ายบท แบบฝึก-แบบทดสอบท้ายบท การสร้างบทเรียน หน้าแรก สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ n จุดประสงค์การเรียน จุดประสงค์การเรียน จุดประสงค์การเรียน คำสั่ง/ใบกิจกรรม คำสั่ง/ใบกิจกรรม คำสั่ง/ใบกิจกรรม    เนื้อหา เนื้อหา เนื้อหา แบบฝึก-แบบทดสอบท้ายบท แบบฝึก-แบบทดสอบท้ายบท แบบฝึก-แบบทดสอบท้ายบท

LMS คืออะไร LMS ย่อมาจาก Learning Management System เครื่องมือบริหารและเว็บไซต์สำเร็จรูป LMS เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่บริหารจัดการเรียน การสอนผ่านเว็บ ประกอบด้วยเครื่องมืออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้สอน ผู้เรียน ผู้ดูแลระบบ โดยผู้สอนสามารถนำเนื้อหาและสื่อการสอนใส่ไว้ในโปรแกรมได้สะดวก ผู้เรียนและผู้สอนสามารถใช้เครื่องมือสื่อสารที่ระบบจัดไว้ให้ได้ ทุกองค์ประกอบ การเก็บบันทึกข้อมูล กิจกรรมการเรียนของผู้เรียนไว้บนระบบเพื่อผู้สอนสามารถนำไปวิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ข้อดีของการใช้ LMS สามารถให้ความใส่ใจกับเนื้อหาได้อย่างเต็มที่ การควบคุมการนำเสนอบทเรียน แบบฝึกหัดและแบบทดสอบ สามารถทำได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ต้องใช้โปรแกรมยุ่งยาก การพัฒนาระบบ LMS ต้องอาศัยทีมงานในการออกแบบระบบให้สอดคล้องกับความต้องการของสถาบัน งบประมาณที่มีอยู่ให้เหมาะสมกับหน่วยงาน

ส่วนประกอบระบบ LMS ส่วนเนื้อหาในบทเรียน (Lecture and Presentation) ส่วนของการทดสอบในบทเรียน (Testing) ส่วนของการพูดคุยในห้องสนทนา (Chat) กระดานข่าว (Web board) ส่วนของการติดต่อผ่าน E-mal ส่วนสนับสนุนการเรียนการสอน การลงทะเบียนของผู้เรียน การบันทึกคะแนนของผู้เรียน การรับ-ส่งงานของผู้เรียน การเรียกดูสถิติของการเข้าเรียน

ตัวอย่างของ LMS เว็บไซต์ Click2learn : LMS เป็นระบบสำหรับนำทางและจัดการเกี่ยวกับบทเรียนทั้งหมด ทั้งความต้องการและกิจกรรมการเรียนการสอนที่เกิดขึ้น CISCO e-Learning Solutions : LMS เป็นส่วนประกอบส่วนหนึ่งของ e-Learning ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกอบรมตามประสบการณ์ของตนเอง ซึ่งเป็นระบบที่ทำหน้าที่จัดการรายการต่าง ๆ ตั้งแต่ต้นจนจบ นับตั้งแต่การลงทะเบียน การสืบท่อง (Navigation) การเลือกบทเรียน และการต่อเชื่อมเข้าระบบ

ตัวอย่างของ LMS BlackBoard WebCT Atutor Moodle LearnSquare

LMS: BlackBoard (http://www. blackboard

LMS: WebCT ( http://www.webct.com/exemplary)

LCMS: Atutor (www.atutor.ca) Open Source LCMS: Atutor (www.atutor.ca) พัฒนาขึ้นโดย ATRC (The Adaptive Technology Resource Center) ที่มหาวิทยาลัยโทรอนโท ประเทศแคนาดา ระบบนี้พัฒนาขึ้นโดยอาศัยระบบและเทคโนโลยีที่เป็นแบบ open source ทั้งสิ้น ดังนั้นในการนำไปใช้งานจึงไม่มีค่าใช้จ่ายในเรื่องซอฟต์แวร์ใดๆ นอกจากนั้น กลุ่มผู้พัฒนาได้จัดเตรียมแผนการพัฒนาปรับปรุงระบบอย่างต่อเนื่อง และจัดให้มีระบบสนับสนุนและช่วยเหลือไว้เพื่อสนองความต้องการของผู้ใช้ระบบ Demo: http://www.atutor.ca/atutor/demo.php

LMS: Moodle (http://moodle.org/) Open Source LMS: Moodle (http://moodle.org/) คู่มือ: http://www.thaiall.com/e-learning/moodle.htm Demo: http://moodle.org

LMS: LearnSquare (http://www.learnsquare.com) Open Source

Content Management System (CMS) เนื้อหา ส่วนของการลงทะเบียน การรวบรวม การจัดการเนื้อหา การนำส่งเนื้อหา การพิมพ์เป็นเอกสาร หรือการบันทึกลงซีดีรอม

ตัวอย่างซอฟแวร์และเว็บไซต์ CMS Joomla Postnuke/thainuke>> www.postnukethai.com Mambo>> www.mambohub.com XOOPS>> www.cmsthailand.com/xoops

ส่วนประกอบของ e-Learning : CMS

ส่วนประกอบของ e-Learning : CMS

Delivery Management System (DMS) การจัดการบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การพิมพ์เป็นเอกสารสำหรับผู้เรียน การบันทึกลงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การนำส่งบทเรียนในรูปแบบอื่น ๆ ไปยังผู้เรียน

Test Management System (TMS) การนำข้อสอบเข้าสู่ระบบ การดำเนินการสอบให้กับผู้เรียน การประเมินผลความก้าวหน้าของผู้เรียนในระบบ e-Learning

ส่วนประกอบของ e-Learning : TMS

แนวโนมของ e-Learning ตัวอยางแนวโนมของเทคโนโลยีที่นําเขามาใชรวมกับสื่อชนิดนี้คือ เทคโนโลยี Multimedia ระบบวีดิทัศนตามอัธยาศัย(Video On - Demand) Streaming Media รูปแบบของภาพกราฟกจะเปน 3 มิติ การสร้างสถานการณจําลอง(Simulator) มีการนําเอาเทคโนโลยีของโทรศัพทมือถือมาใชในการนําเสนอสื่อชนิดนี้มากยิ่งขึ้น

M-Learning

10 อันดับเว็บไซต์ท่าอีเลิร์นนิ่งของโลก eLearners.com Thomson Education Direct SmartForce CyberU Digital Think KnowledgeNet NewHorizons Learn2.com elementk.com SmartPlanet.com

Learn Square http://www.nectec.or.th Learn Square คือ ระบบ e-learning ที่พัฒนาโดยศูนย์เทคโนโลยีอีเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) เป็นระบบบริหารเรียนรู้ออนไลน์ที่ผ่านระบบคอมพิวเตอร์โดยผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามอัธยาศัยทุกที่ ทุกเวลา ในรูปแบบสื่อมัลติมีเดีย http://www.nectec.or.th

LMS : LearnSquare ติดตั้ง LMS  LearnSquare 1. ติดตั้ง Appserve 2.8 เพื่อจำลองเครื่องเป็น server 2. ติดตั้ง Learnsquare