สาระการเรียนรู้ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
Advertisements

ศาสนพิธี.
บทที่ 7 ศาสนา Religion.
ไหว้พระเก้าวัด โดย นางวัฒนา ศรีประเสริฐ อาจารย์ 2 ระดับ 7.
กลุ่มคนในสังคมสุโขทัย
อารยธรรมอินเดีย.
กับทิศทางการพัฒนาสังคมไทย
ประเพณีต่างๆ โดย รศ. สุทธิชัย ยังสุข คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
พิธีกรรมต่างๆ พิธีกรรม =แบบอย่างในการกระทำหรือวิธีปฏิบัติ
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
นางศุจินันท์ ฉลาด โรงเรียนโชคชัยสามัคคี นครราชสีมา
ศาสนพิธี และวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ กาพย์เรื่องพระไชยสุริยา ภาษาไทย ม.๓
เตรียมตัวผู้แทนชาว ไทย เข้าสู่ “AMC เชียงใหม่ ” “ บอกเล่าเรื่องพระ เยซูเจ้า ให้ชาวเอเชีย ” ณ โรงแรมโลตัส ปางสวนแก้ว เชียงใหม่ ตุลาคม 2006.
พระวาจา ทรง ชีวิต มกราคม 2008.
กฎหมายการแพทย์และจริยศาสตร์
ศาสนาเชน นักอหิงสาต่อความศักดิ์สิทธิ์ของชีวิต
ศาสนาชินโต (ชินเต๋า) กามิ มิชิ
หน้าหลัก สมาชิก ประวัติความเป็นมา วัตถุประสงค์ กิจกรรมเด่น
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มน้ำสินธุ
โครงงาน ศาสนพิธี.
ลักษณะของพุทธศาสนานิกายเถรวาท
ศาสนาพื้นฐานดั้งเดิม
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
สอนโดย อาจารย์ขวัญตา จั่นอิ๊ด โทร
วรรณคดีเรื่องกาพย์เห่เรือ
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฏหมาย
ประวัติศาสตร์ศาสนา 7 พ.ย บรรยายโดย อาจารย์สมชัย ศรีนอก.
ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคใต้ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันเกิดจากการพัฒนา การปรับตัว ปรับวิถีชีวิตของคนในภาคใต้ที่ประกอบด้วยคนไทยและอีกหลายชาติพันธุ์ที่อยู่ร่วมกันในคาบสมุทรมีคนมาเลย์
๓ สถาบันทางสังคม (Social Institution)
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
ระบบความเชื่อ.
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
พระวาจาทรงชีวิต สิงหาคม 2011 "" "ข้าพเจ้ามาเพื่อทำตามพระประสงค์ของพระองค์" (ฮีบรู 10,9)
ศาสนพิธี ในวิถีสังคมไทย
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
คำว่า “ หว่านพืชเช่นใดย่อมได้ผล เช่นนั้น ” หมายถึงความเชื่อในเรื่องอะไร ตอบคูกทำข้อต่อไป ตอบผิดศึกษาบทเรียนใหม่ ตอบถูกค่ะ Your answer: The correct answer.
ทบทวน หน่วยที่ 1 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา 1
วันลบมลทินบาป บทที่ 6 วันที่ 9 พฤษจิกายน 2013.
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
เนื้อหาพิเศษ : การตั้งเป้าหมาย
ความเป็นมาของชาติไทย : พ.อ.ดร.ศรศักร ชูสวัสดิ์ ความเป็นมาของชาติไทย : พ.อ.ดร.ศรศักร ชูสวัสดิ์ องค์ประกอบของชาติ มี 1.ดินแดนที่แน่นอน.
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
แบบทดสอบศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ภูมิภาคเอเชียใต้ มีรูปร่างเป็นรูปสามเหลี่ยม มีลักษณะเหมือนรวงผึ้งที่มีน้ำผึ้งกำลังหยด ประกอบด้วย 7 ประเทศ โดยตั้งอยู่บนภาคพื้นทวีป 5 ประเทศ คือ อินเดีย.
จัดทำโดย : จันทรัช พลตะขบ : นพรัตน์ พลตะขบ สอนโดย : ครูพนิดา กำลา
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
ศาสนาคริสต์.
ศาสนาคริสต์.
                                                                                       
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส33101
ศาสนาคริสต์.
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
ประเภทของศาสนา ศาสนาเบื้องต้น อาจารย์ชัชวาลย์ ชิงชัย
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ครูจงกล กลาง ชล 1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง วิเคราะห์ เปรียบเทียบ เหตุการณ์ใน ประวัติศาสตร์ไทย ที่แสดงถึง ความสัมพันธ์ใน ความต่อเนื่อง ของเวลาได้ 2.
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
เล่าจื๊อผู้ให้กำเนิดลัทธิเต๋า
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เรื่อง ชาวพุทธตัวอย่าง ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์
วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สาระการเรียนรู้ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม สาระการเรียนรู้ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

สัญลักษณ์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู สัญลักษณ์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระตรีมูรติหรือผู้เป็นเจ้าทั้งสาม มีตัวอักษร ๓ ตัว อันศักดิ์สิทธิ์เรียกกันว่า “โอม” ประกอบด้วยอักษร ๓ ตัวคือ “อะ” หมายถึง พระวิษณุหรือพระนารายณ์ “อุ” หมายถึง พระอิศวรหรือพระศิวะ “มะ” หมายถึง พระพรหม

ลักษณะสำคัญของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ลักษณะสำคัญของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พระพรหม คัมภีร์พระเวท มีวิวัฒนาการสืบต่อเนื่องกันมาโดยตลอด

ความเป็นมาของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ความเป็นมาของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู อารยัน+ดราวิเดียน – เขตลุ่มน้ำสินธุ

ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู วิวัฒนาการของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู สมัยพระเวท สมัยพราหมณ์(พระพรหม) - ลัทธิตรีมูรติ * พระพรหม (ผู้สร้าง) * พระวิษณุ หรือพระนารายณ์ (ผู้รักษา) * พระศิวะ หรือพระอิศวร (ผู้ทำลาย)

ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู 3. สมัยฮินดู แบ่งออกเป็น 6 ลัทธิ (ษัททรรศนะ คือ สางขยะ โยคะ นยายะ ไวเศิกะ ดีบางสา เวทานตะ) * มุ่งสู่ความหลุดพ้น คือ โมกษะ

ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู โมกษะ การหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด (เป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดของศาสนา)และมีสภาวะเป็นเอกภาพ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับพระพรหม

ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ปรมาตมัน วิญญาณอันยิ่งใหญ่ เกิดขึ้นเอง เป็นปฐมของวิญญาณ เป็นอมตะ เมื่ออกจากร่างจะไปเกิดใหม่

ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู กำหนดคัมภีร์พระเวท ฤคเวท - สรรเสริญเทพเจ้า ฤคเวท - สรรเสริญเทพเจ้า ยชุรเวท - บูชายัญ สามเวท – เป็นบทร้อยกรอง นำมาจากฤคเวท อถรรพเวท - เวทมนต์คาถาไสยศาสตร์และสิ่งศักดิ์สิทธิ์

ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู หลักคำสอน เรื่องวรรณะ วรรณะพราหมณ์ – นักบวช ปุโรหิต ผู้พิพากษา ครู นักปราชญ์ วรรณะกษัตริย์ – พระเจ้าแผ่นดิน ขุนนาง ทหาร ตำรวจ แพศย์ – ชาวนา ชาวสวน พ่อค้า ศูทร – กรรมกรผู้ใช้แรงงาน มีหน้าที่รับใช้วรรณะทั้ง 3 หมายถึง พวกพื้นเมือง ดราวิเดียน หรือมิลักขะ * พวกสมรสข้ามวรรณะ เรียกว่า จัณฑาล มีฐานะต่ำราวกับไม่ใช้มนุษย์

ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่สมัยฮินดู การเวียนว่ายตายเกิด- ดวงวิญญาณจะเวียนว่ายตายเกิดไม่สิ้นสุดจนกว่าจะเข้าสู่พรหม การเข้าสู้พรหม – สะสมความสุขและออกไปบำเพ็ญพรตในป่า การเวียนว่ายตายเกิดจากกรรมแต่ปางก่อน – ทำดี ไปสู่วรรณะสูง การสิ้นสุดการเกิดใหม่ของโลก – เป็นหน้าที่ของพระเจ้าผู้สร้าง และพระเจ้าผู้ทำลาย สมัยนี้ได้พัฒนาเข้าสู่ เอกเทวนิยม (พระพรหม) องค์ประกอบในสันติสุขของโลก *พราหมณ์ * คัมภีร์ *พระเวท กำหนดให้คนในตระกูลพราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ ประพฤติตนใน อาศรม 4 อย่างเคร่งครัดมากขึ้น

ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู อาศรม 4 –ขั้นตอนการดำเนินชีวิตของชาวฮินดู พรหมจารี – แรกเกิดของชีวิต เล่าเรียน (เกิด-25 ปี) คฤหัสถ์ – ผู้ครองเรือน (26-50 ปี) วนปรัสถ์ – ทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ (51-75 ปี) สันยาสี - การเสียสละชีวิตคฤหัสถ์ออกบวชเพื่อโมกษะสู่ (76 ปี...) ปรมาตมัน (เข้าไปรวมกับวิญญาณอมตะของพระพรหม)

หนทางที่จะนำไปสู่ความหลุดพ้น(โมกษะ) ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู หนทางที่จะนำไปสู่ความหลุดพ้น(โมกษะ) ชญาณโยคะ- ปัญญา กรรมโยคะ- การกระทำ ภัทติโยคะ- จงรักภักดีต่อพระเจ้า

ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู นิกายในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู นิกายพรหม -นำถือพระพรหม(ผู้สร้าง) นิกายไศวะ-นับถือพระศิวะหรือพระอิศวร(ผู้สร้างและผู้รักษา) นิกายไวษณพ -นับถือพระวิษณุหรือพระนารายณ์(ผู้สร้างและผู้ทำลาย นิกายศากยะ หรือนิกายศักติหรือลัทธิบูชาเทวี – พระอุมาเทวี(ชายาพระศิวะ) พระลักษมีเทวี (ชายาพระวิษณุ) พระสรัสวดีเทวี (ชายาพระพรหม)

ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พิธีกรรมที่สำคัญ พิธีสังสการ- เป็นพิธีประจำบ้าน ( เช่นตั้งชื่อ แต่งงาน) พิธีศราทธ์- ทำบุญให้แก่ผู้ล่วงรับเป็นพิธีที่สำคัญที่สุด พิธีบูชาเทวดี (เช่นการสวดมนต์ตอนเช้า เย็น)