ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารงานบุคคล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการพิเศษ
การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
KKU : แผนระยะยาว พ. ศ ( ) : แผนระยะกลาง ( พ. ศ ) ครึ่งแผนหลัง ( พ. ศ ) : แผนระยะกลาง 2020 ( พ. ศ.
ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ.2552
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
วิชาชีพทางการศึกษา 1. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู 2. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ผู้บริหารสถานศึกษา 3. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ผู้บริหารการศึกษา 4. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ.
การต่อเวลาราชการ 65 ปี สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น งานบริหารงานบุคคล กองการ เจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี
1 เอกสารประกอบการอบรม ข้าราชการและพนักงาน สายสนับสนุนในมหาวิทยาลัย เพื่อทำผลงานทางวิชาการในการกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้นเป็นระดับ ชำนาญงาน ชำนาญงานพิเศษ ชำนาญการ.
การประกัน คุณภาพการศึกษา.. พิชญ์มณฑน์ ลีกำเนิด ไทย.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้ คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้
๑.มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการบริหาร การศึกษาหรือเทียบเท่าหรือคุณวุฒิอื่นที่คุรุ สภารับรอง โดยมีความรู้ ดังต่อไปนี้ ( ๑ ) หลักและกระบวนการบริหารการศึกษา.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เทพ สุริยา ( เทพสุริยา ) ( เทพสุริยา ) ส่วนราชการที่รับผิดชอบ ภารกิจการจัดการศึกษาของ อปท. อบจ. เทศบาลอบต. กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนาธรรม.
เกณฑ์การประเมินเพื่อ เลื่อนระดับสูงขึ้น
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
การดำเนินการช่วงเปลี่ยนผ่าน ณ ห้องประชุมราชพฤกษ์ สพป.นครราชสีมา เขต 1
มาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐานวิทยฐานะของ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ผู้อำนวยการกองทรัพยากรบุคคล
การปกครองคณะสงฆ์ไทย Thai Sangha Administration
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
สำนักงาน ก.พ. ได้กำหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการประเมินบุคคลและผลงาน เพื่อ เลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับสูง ขึ้น สำหรับตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับ ชำนาญการและชำนาญการพิเศษ.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
โดย ผศ. ไพบูลย์ แย้มเผื่อน
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ทิศทางการบริหารสำหรับผู้บริหาร มืออาชีพ
เส้นทางความก้าวหน้าในวิชาชีพ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ถวิล สร่ายหอม ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนขุนหาญวิทยาสรรค์
แนวทางการประเมิน ระดับเชี่ยวชาญ ในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก
ผศ.ดร.สุจิตรา อู่รัตนมณี
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
“ปฏิบัติการสู่ชำนาญการ”
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา และแนวทางการบริหารเกณฑ์ฯ
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
มาตรา ๕๔ การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีวิทยฐานะใดและการเลื่อนเป็นวิทยฐานะใด ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน วิทยฐานะตามมาตรา ๔๒ ซึ่งผ่านการประเมิน ทั้งนี้
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
สุภารัตน์ วังศรีคูณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
รองศาสตราจารย์สนิท สัตโยภาส
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
สำนักงาน ก.ค.ศ. การดำเนินการด้านการบริหารงานบุคคล ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38 ค.(2) นายสุธี วัฒนวันยู
หลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
หลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน
หลักเกณฑ์และวิธีการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น
สำหรับตำแหน่งที่มีวิทยฐานะ
วิธีการขอกำหนดตำแหน่งวิชาการ
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
โดย นายธนารัฐ สายเทพ กลุ่มงานวางแผนฯ กองการเจ้าหน้าที่ นอ
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
การสรรหาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารงานบุคคล หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคล ให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการของผู้สอนประจำในวิทยาลัยชุมชน โดย นางสุจิตร รัตนมุง ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารงานบุคคล และคณะ

ร่างพระราชบัญญัติสถาบันวิทยาลัยชุมชน พ.ศ. .... มาตรา 6 เพื่อประโยชน์และความสอดคล้องกับการบริหารงานบุคคลของสถาบันให้สภาสถาบันมีอำนาจหน้าที่ในการบริหารงานบุคคลของสถาบันตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาและกฎหมายอื่นโดยอนุโลม เว้นแต่พระราชบัญญัตินี้บัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษามีอำนาจออกกฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับเพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 44 ผู้สอนประจำในสถาบันจะมีตำแหน่งทางวิชาการและเงินประจำตำแหน่งอย่างไร ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎของคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา

แนวทางในการจัดทำหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคล ให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการของผู้สอนประจำในวิทยาลัยชุมชน หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ (ก.พ.อ.) หลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษามีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ (ก.ค.ศ.) รูปแบบการจัดการเรียนรู้ในวิทยาลัยชุมชน (3 TRACKS)

บริการวิชาการ TRACK อนุปริญญา บริการวิชาการ บริการวิชาการ TRACK อาชีพ แนวทางในการจัดการเรียนรู้ในวิทยาลัยชุมชน บริการวิชาการ National Qualification Framework TRACK อนุปริญญา ตอบสนองความต้องการศึกษาต่อระดับปริญญา TRACK อาชีพ บริการวิชาการ บริการวิชาการ ตอบสนองความต้องการแรงงาน ทักษะ และการประกอบอาชีพอิสระ TRACK ชุมชน ตอบสนองการพัฒนาคุณภาพชีวิต การประกอบอาชีพ ความสงบ และสันติในชุมชน Competency – based Curriculum Competency – based Curriculum บริการวิชาการ

กรอบตำแหน่งผู้สอนประจำในวิทยาลัยชุมชน ก.ค.ศ. (ก.พ.อ.) ก.พ.อ. ครูผู้ช่วย (จบ ป.โท ทดลองงาน 2 ปี) อาจารย์ ป.ตรี = 9 ปี ป.โท = 5 ปี ป.เอก = 2 ปี ครู (ป.โท 4 ปี) ครูชำนาญการ (1 ปี) (3,500) ครูชำนาญการพิเศษ (3 ปี) (5,600*2) อาจารย์ชำนาญการพิเศษ (3 ปี) (3,500) = 144 คน (5,600*2) = 25 คน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (3,500 – 5,600) ครูเชี่ยวชาญ (2 ปี) (9,900*2) อาจารย์เชี่ยวชาญ (2 ปี) (5,600*2) และ (9,900*2) รองศาสตราจารย์ (5,600 – 9,900) ครูเชี่ยวชาญพิเศษ (13,000*2) และ (15,000*2) อาจารย์เชี่ยวชาญพิเศษ ศาสตราจารย์ (13,000 – 15,600)

คณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง สภาสถาบันฯ ผลการพิจารณา สภาวิชาการ แต่งตั้ง ผลการพิจารณา คณะอนุกรรมการพิจารณา ตำแหน่งทางวิชาการ แต่งตั้ง ผลการพิจารณา คณะอนุกรรมการ ชุดที่ 1 ผลการปฎิบัติงาน คณะอนุกรรมการ ชุดที่ 2 ผลงานทางวิชาการ

1. การแต่งตั้งโดยวิธีปกติ 2. การแต่งตั้งโดยวิธีพิเศษ การพิจารณาแต่งตั้ง กระทำได้ 2 วิธี 1. การแต่งตั้งโดยวิธีปกติ 2. การแต่งตั้งโดยวิธีพิเศษ

การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการโดยวิธีปกติ จะพิจารณาจาก 1. คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง 2. ผลการปฏิบัติงาน - ด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ และ - ด้านผลการสอน และ - ด้านเอกสารคำสอน (เฉพาะตำแหน่งอาจารย์เชี่ยวชาญ พิเศษเท่านั้น) 3. ผลงานทางวิชาการ

คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง ก.พ.อ. วิทยาลัยชุมชน (ก.พ.อ.) ตำแหน่ง คุณสมบัติ อาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1. ป.ตรี และดำรงตำแหน่งอาจารย์มาแล้วไม่น้อยกว่า 9 ปี ป.โท และดำรงตำแหน่งอาจารย์มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี ป.เอก และดำรงตำแหน่งอาจารย์มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี อาจารย์ชำนาญการพิเศษ รองศาสตราจารย์ ดำรงตำแหน่ง ผศ. มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี อาจารย์เชี่ยวชาญ ดำรงตำแหน่งอาจารย์ชำนาญการพิเศษ มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ศาสตราจารย์ ดำรงตำแหน่ง รศ. มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี อาจารย์เชี่ยวชาญพิเศษ ดำรงตำแหน่งอาจารย์เชี่ยวชาญพิเศษ มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี

ผลการปฏิบัติงาน ก.พ.อ. วิทยาลัยชุมชน (ก.พ.อ.) ตำแหน่ง ผลการปฏิบัติงาน คุณสมบัติ อาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อาจารย์ชำนาญการพิเศษ 1. ด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ผลการสอน มีชั่วโมงสอนประจำวิชาหนึ่งวิชาหนึ่ง มีความชำนาญในการสอน และเสนอเอกสารประกอบการสอนฯ ซึ่งมีคุณภาพดี 2. ด้านผลการสอน ต้องมีชั่วโมงสอนประจำวิชาใดวิชาหนึ่งที่กำหนดไว้ในหลักสูตรของวิทยาลัยชุมชน ทั้ง 2 ด้านต้องได้คะแนนจากกรรมการทั้ง 3 คนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 75

ผลการปฏิบัติงาน ก.พ.อ. วิทยาลัยชุมชน (ก.พ.อ.) ตำแหน่ง ผลการปฏิบัติงาน รองศาสตราจารย์ อาจารย์เชี่ยวชาญ 1. ด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ผลการสอน มีชั่วโมงสอนประจำวิชาหนึ่งวิชาหนึ่ง มีความชำนาญพิเศษในการสอน และเสนอเอกสารคำสอนฯ ซึ่งมีคุณภาพดี 2. ด้านผลการสอน ต้องมีชั่วโมงสอนประจำวิชาใดวิชาหนึ่งที่กำหนดไว้ในหลักสูตรของวิทยาลัยชุมชน ทั้ง 2 ด้านต้องได้คะแนนจากกรรมการทั้ง 3 คนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80

ผลการปฏิบัติงาน ก.พ.อ. วิทยาลัยชุมชน (ก.พ.อ.) ตำแหน่ง ผลการปฏิบัติงาน ศาสตราจารย์ อาจารย์เชี่ยวชาญพิเศษ 1. ด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ผลการสอน มีชั่วโมงสอนประจำวิชาหนึ่งวิชาหนึ่ง และมีความเชี่ยวชาญในการสอน 2. ด้านผลการสอน ต้องมีชั่วโมงสอนประจำวิชาใดวิชาหนึ่งที่กำหนดไว้ในหลักสูตรของวิทยาลัยชุมชน 3. ด้านเอกสารคำสอน ทั้ง 2 ด้านต้องได้คะแนนจากกรรมการทั้ง 3 คนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 85

หลักสูตรของวิทยาลัยชุมชน ด้านผลการสอน ต้องมีชั่วโมงสอนประจำวิชาใดวิชาหนึ่งที่กำหนดไว้ในหลักสูตรของวิทยาลัยชุมชน หลักสูตรของวิทยาลัยชุมชน หมายถึง รายวิชาที่เปิดสอนตามรูปแบบการจัดการศึกษาและการจัดการเรียนรู้ของวิทยาลัยชุมชน ซึ่งเป็นไปตามที่สภาสถาบันวิทยาลัยชุมชนให้การอนุมัติ และหรือหลักสูตรที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้การรับทราบ หรือตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ รูปแบบการจัดการศึกษาและการจัดการเรียนรู้ของวิทยาลัยชุมชน หมายถึง การจัดการศึกษาอนุปริญญาหรือเทียบเท่า การจัดการศึกษาเพื่อประกอบอาชีพ และการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน

ผลงานทางวิชาการ ก.พ.อ. วิทยาลัยชุมชน (ก.พ.อ.) ตำแหน่ง ผลงานทางวิชาการ อาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผลงาน 1 รายการ ดังนี้ 1. ผลงานแต่งหรือเรียบเรียงตำรา หรือ หนังสือ หรือบทความ หรือ 2. ผลงานวิจัย หรือ 3. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น หรือ 4. ผลงานทางวิชาการรับใช้สังคม * ผลงานต้องมีคุณภาพดี (เสียงข้างมาก) อาจารย์ชำนาญการพิเศษ 1. เอกสารประกอบการสอนที่ใช้ประกอบการสอนวิชาใดวิชาหนึ่งตามหลักสูตรของวิทยาลัยชุมชน และรายงานผลการใช้เอกสารประกอบการสอนในวิชานั้น หรือ 2. ผลงานแต่งหรือเรียบเรียงตำรา หรือ หนังสือ หรือบทความ หรือ 3. ผลงานวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน หรือ ผลงานวิจัยที่เกิดประโยชน์ต่อชุมชน หรือชุมชน หรือ 4. ผลงานทางวิชาการรับใช้สังคม หรือ 5. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น คะแนนจากกรรมการแต่ละคนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 75

ผลงานทางวิชาการ (ต่อ) ก.พ.อ. วิทยาลัยชุมชน (ก.พ.อ.) ตำแหน่ง เกณฑ์การประเมิน รองศาสตราจารย์ ผลงาน 2 รายการ ดังนี้ 1. ผลงานวิจัย หรือ 2. ผลงานทางวิชาการรับใช้สังคม หรือ 3. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น และ 4. ผลงานแต่งหรือเรียบเรียงตำรา หนังสือ * ผลงานต้องมีคุณภาพดี (เสียงข้างมาก) อาจารย์เชี่ยวชาญ 1. ผลงานวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน หรือ ผลงานวิจัยที่เกิดประโยชน์ต่อชุมชน หรือชุมชน หรือ 3. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น หรือ 4. ผลงานแต่งหรือเรียบเรียงตำรา หรือ หนังสือ หรือบทความ และ 5. เอกสารประกอบการสอนที่ใช้ประกอบการสอนวิชาใดวิชาหนึ่งตามหลักสูตรของวิทยาลัยชุมชน และรายงานผลการใช้เอกสารประกอบการสอนในวิชานั้น คะแนนจากกรรมการแต่ละคนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80

ผลงานทางวิชาการ (ต่อ) ก.พ.อ. วิทยาลัยชุมชน (ก.พ.อ.) ตำแหน่ง เกณฑ์การประเมิน ศาสตราจารย์ วิธีที่ 1 ประกอบด้วยผลงาน 2 รายการ ดังนี้ 1. ผลงานวิจัย หรือ 2. ผลงานทางวิชาการรับใช้สังคม หรือ 3. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น และ 4. ผลงานแต่งหรือเรียบเรียงตำรา หนังสือ * ผลงานต้องมีคุณภาพดีมาก (เสียงข้างมาก) อาจารย์เชี่ยวชาญพิเศษ วิธีที่ 1 ประกอบด้วยผลงาน 2 รายการดังนี้ 1. ผลงานวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน หรือ ผลงานวิจัยที่เกิดประโยชน์ต่อชุมชน หรือชุมชน หรือ 4. ตำรา หรือ หนังสือ คะแนนจากกรรมการแต่ละคนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90

ผลงานทางวิชาการ (ต่อ) ก.พ.อ. วิทยาลัยชุมชน (ก.พ.อ.) ตำแหน่ง เกณฑ์การประเมิน ศาสตราจารย์ วิธีที่ 2 ประกอบด้วยผลงาน 1รายการ ดังนี้ 1. ผลงานวิจัย หรือ 2. ผลงานทางวิชาการรับใช้สังคม หรือ 3. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น หรือ 4. ผลงานแต่งหรือเรียบเรียงตำรา หนังสือ * ผลงานต้องมีคุณภาพดีเด่น (เสียงข้างมาก) อาจารย์เชี่ยวชาญพิเศษ วิธีที่ 2 ประกอบด้วยผลงาน 1 รายการดังนี้ ผลงาน 1 รายการ ดังนี้ 1. ผลงานวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน หรือ ผลงานวิจัยที่เกิดประโยชน์ต่อชุมชน หรือชุมชน หรือ 4. ตำรา หรือ หนังสือ คะแนนจากกรรมการแต่ละคนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90

จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ 1. ต้องมีความซื่อสัตย์ทางวิชาการ ไม่นำผลงานของผู้อื่นมาเป็นผลงานของตนและไม่ลอกเลียนผลงานของผู้อื่น รวมทั้งไม่นำผลงานของตนเองในเรื่องเดียวกันไปเผยแพร่ในวารสารวิชาการมากกว่าหนึ่งฉบับ ในลักษณะที่จะทำให้เข้าใจผิดว่าเป็นผลงานใหม่ 2. ต้องให้เกียรติและอ้างถึงบุคคลหรือแหล่งที่มาของข้อมูลที่นำมาใช้ในผลงานทางวิชาการของตนเองและแสดงหลักฐานของการค้นคว้า 3. ต้องไม่คำนึงถึงผลประโยชน์ทางวิชาการจนละเลยหรือละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของผู้อื่นและสิทธิมนุษยชน 4. ผลงานทางวิชาการต้องได้มาจากการศึกษาโดยใช้หลักวิชาการเป็นเกณฑ์ ไม่มีอคติมาเกี่ยวข้อง และเสนอผลงานตามความเป็นจริง ไม่จงใจเบี่ยงเบนผลการวิจัย โดยหวังผลประโยชน์ส่วนตัว หรือต้องการสร้างความเสียหายแก่ผู้อื่น และเสนอผลงานตามความเป็นจริง ไม่ขยายข้อค้นพบโดยปราศจากการตรวจสอบยืนยันในทางวิชาการ 5. ต้องนำผลงานไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบธรรมและชอบด้วยกฎหมาย

การแต่งตั้งผู้สอนประจำให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ โดยวิธีพิเศษ มี 3 กรณี ดังนี้ กรณีที่ ๑ ผู้ขอเสนอข้ามตำแหน่ง หมายความว่า ผู้สอนประจำซึ่งมีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งที่ต่างไปจากที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง อาจขอให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้นก็ได้ กรณีที่ ๒ ผู้ขอมีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งไม่ครบ หมายความว่า ผู้สอนประจำซึ่งมีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งไม่ครบระยะเวลาตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง อาจขอให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้นได้ กรณีที่ ๓ ผู้ขอเสนอเปลี่ยนสาขาวิชา หมายความว่า ผู้สอนประจำในสาขาวิชาหนึ่งสามารถเสนอขอแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้นและแตกต่างไปจากสาขาวิชาเดิมได้

เกณฑ์การประเมิน (โดยวิธีพิเศษ) ก.พ.อ. วิทยาลัยชุมชน (ก.พ.อ.) ตำแหน่ง การประเมินผลงาน อาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1. ผลการสอนระดับชำนาญการ 2. ผลงานทางวิชาการในระดับดีมาก (คะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 4 ใน 5 เสียง) อาจารย์ชำนาญการพิเศษ 1. ผลการปฏิบัติงาน ต้องได้คะแนนจากกรรมการแต่ละคนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 2. ผลงานทางวิชาการ ต้องได้คะแนนจากกรรมการแต่ละคนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 รองศาสตราจารย์ 1. ผลการสอนระดับชำนาญพิเศษ อาจารย์เชี่ยวชาญ 1. ผลการปฏิบัติงาน ต้องได้คะแนนจากกรรมการแต่ละคนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 85 2. ผลงานทางวิชาการ ต้องได้คะแนนจากกรรมการแต่ละคนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 85

เกณฑ์การประเมิน (โดยวิธีพิเศษ) ก.พ.อ. วิทยาลัยชุมชน (ก.พ.อ.) ตำแหน่ง การประเมินผลงาน ศาสตราจารย์ ให้เสนอเฉพาะวิธีที่ 1 เท่านั้น 1. ผลการสอนระดับเชี่ยวชาญ 2. ผลงานทางวิชาการในระดับดีเด่น (คะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 4 ใน 5 เสียง) อาจารย์เชี่ยวชาญพิเศษ 1. ผลการปฏิบัติงาน ต้องได้คะแนนจากกรรมการแต่ละคนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 2. ผลงานทางวิชาการ ต้องได้คะแนนจากกรรมการแต่ละคนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90

หมวด 3 การทบทวนผลงานพิจารณาผลงานทางวิชาการ หมวด 2 การลงโทษ หมวด 3 การทบทวนผลงานพิจารณาผลงานทางวิชาการ หมวด 4 บทเฉพาะกาล

Q & A