งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การดำเนินการช่วงเปลี่ยนผ่าน ณ ห้องประชุมราชพฤกษ์ สพป.นครราชสีมา เขต 1

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การดำเนินการช่วงเปลี่ยนผ่าน ณ ห้องประชุมราชพฤกษ์ สพป.นครราชสีมา เขต 1"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การดำเนินการช่วงเปลี่ยนผ่าน ณ ห้องประชุมราชพฤกษ์ สพป.นครราชสีมา เขต 1
การประชุมชี้แจงระบบลงทะเบียนและติดตามประเมินผลครูผู้เข้ารับการพัฒนาฯ (OBEC TRAINING) และหลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน ( ว.22 5 กรกฎาคม 2560 ) และหลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู มีวิทยฐานะและเลื่อน วิทยฐานะ ( ว กรกฎาคม 2560 ) การดำเนินการช่วงเปลี่ยนผ่าน ( ว ก.ย.2552 และ ว.21 5 ก.ค ) วันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ.2560 ณ ห้องประชุมราชพฤกษ์ สพป.นครราชสีมา เขต 1

2 ขั้นตอนการลงทะเบียนพัฒนาครู (10,000 บาท/คน)

3 ขั้นตอนการลงทะเบียน

4 ครู 1. ลงทะเบียนและเลือกหลักสูตรที่ต้องการพัฒนาโดยต้องมีระยะเวลานับจากการลงทะเบียน ไม่น้อยกว่า 15 วัน

5 2. เขียนเหตุผลความจำเป็นที่ต้องการพัฒนาในหลักสูตรนั้น
ครู 2. เขียนเหตุผลความจำเป็นที่ต้องการพัฒนาในหลักสูตรนั้น

6 3. เสนอผู้อำนวยการสถานศึกษาอนุมัติ
ครู 3. เสนอผู้อำนวยการสถานศึกษาอนุมัติ

7 1. เข้าระบบเพื่อตรวจสอบรายละอียดหลักสูตรที่ครู
ผู้อำนวยการสถานศึกษา 1. เข้าระบบเพื่อตรวจสอบรายละอียดหลักสูตรที่ครู ต้องการพัฒนา (ตามความเหมาะสม/ความจำเป็น)

8 ผู้อำนวยการสถานศึกษา 2. อนุมัติ/ไม่อนุมัติ พร้อมให้เหตุผลประกอบ

9 1. ตรวจสอบคำขอของโรงเรียนต่างๆ (หลักสูตร
เจ้าหน้าที่กลุ่มบริหารงานบุคคล 1. ตรวจสอบคำขอของโรงเรียนต่างๆ (หลักสูตร 1,460 หลักสูตรที่รับรองโดยสถาบันคุรุพัฒนา)

10 เจ้าหน้าที่กลุ่มบริหารงานบุคคล
2. อนุมัติ / ไม่อนุมัติ

11 1. ตรวจสอบคำขอที่ผ่านการอนุมัติจาก เจ้าหน้าที่กลุ่มบริหารงานบุคคล
เจ้าหน้าที่กลุ่มการเงินและสินทรัพย์ 1. ตรวจสอบคำขอที่ผ่านการอนุมัติจาก เจ้าหน้าที่กลุ่มบริหารงานบุคคล

12 2.ตรวจสอบรายละเอียดการยืมเงินของครู
เจ้าหน้าที่กลุ่มการเงินและสินทรัพย์ 2.ตรวจสอบรายละเอียดการยืมเงินของครู

13 เจ้าหน้าที่กลุ่มการเงินและสินทรัพย์
3. อนุมัติ / ไม่อนุมัติ

14 1. ตรวจสอบการอนุมัติจาก ฝ่ายต่าง ๆ
ครู 1. ตรวจสอบการอนุมัติจาก ฝ่ายต่าง ๆ

15 2. ถ้าอนุมัติครบทุกฝ่าย ครูจะได้รับแจ้ง E-mail
ให้กดยืนยันการเข้าพัฒนาหรือยกเลิกการพัฒนา

16 3. ถ้ากดยืนยันการลงทะเบียนแล้วถือว่าลงทะเบียน
ครู 3. ถ้ากดยืนยันการลงทะเบียนแล้วถือว่าลงทะเบียน เสร็จสิ้นสมบูรณ์

17 ครู 4. ให้ปริ้นท์เอกสารหลักฐานทั้งหมดมาประกอบการยืมเงินที่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

18 5. ครูเข้ารับการพัฒนาตามหลักสูตรที่ลงทะเบียน

19 ครู 6. เมื่อผ่านการพัฒนาเรียบร้อยแล้ว ให้กลับมารายงานผลต่อ ผู้อำนวยการสถานศึกษา

20 7. ผู้อำนวยการสถานศึกษารับทราบ
ครู 7. ผู้อำนวยการสถานศึกษารับทราบ ผลการพัฒนา

21 ครู 8. ข้อมูลจะถูกบันทึกในประวัติครูเป็น e-portfolio เก็บเป็น logbook เพื่อใช้ในการขอมีหรือเลื่อนวิทยฐานะ ตาม ว 21

22 รายละเอียดเพิ่มเติม - ลงทะเบียนพัฒนาครู รายชื่อหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครู ที่ผ่านเกณฑ์การรับรองโดยสถาบันคุรุพัฒนา จำนวน 1,460 หลักสูตร อ่านรายระเอียดเพิ่มเติมได้ที่

23 หลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน
( ว กรกฎาคม 2560 )

24 หลักการ / เหตุผล พรบ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547 ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่พัฒนาข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ให้มีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อน แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งบางตำแหน่ง และบางวิทยฐานะ ม.79 ม.80

25 1. 2. หลักเกณฑ์ พร้อมจัดทำแผนพัฒนาตนเองเป็นรายปี
ให้ข้าราชการครูต้องได้รับการพัฒนาต่อเนื่องทุกปี พร้อมจัดทำแผนพัฒนาตนเองเป็นรายปี ข้าราชการครูที่ผ่านการพัฒนาตามหลักเกณฑ์ สามารถนำผลการพัฒนาไปเป็นคุณสมบัติเพื่อขอ เลื่อนมีวิทยฐานะได้ทุกวิทยฐานะ : ( ม.80) 1. 2.

26 หลักสูตรการพัฒนาประกอบด้วย
ความรู้ ทักษะ ความเป็นครู

27 1. 2. เงื่อนไข วิทยฐานะหรือตาม ก.ค.ศ. กำหนด
หลักสูตรที่สถาบันคุรุพัฒนารับรองตามมาตรฐาน วิทยฐานะหรือตาม ก.ค.ศ. กำหนด พัฒนาอย่างต่อเนื่องทุกปี ปีละไม่น้อยกว่า 12 ชั่วโมง แต่ไม่เกิน 20 ชั่วโมง ภายใน 5 ปี ต้องมีจำนวนชั่วโมง พัฒนา จำนวน 100 ชั่วโมง 1. 2.

28 เงื่อนไข (ต่อ) ถ้าภายใน 5 ปี จำนวนชั่วโมงการพัฒนาไม่ครบ 100 ชั่วโมงสามารถนำชั่วโมง PLC ส่วนที่เกิน 50 ชั่วโมง ในแต่ละปีมานับรวมเป็นจำนวนชั่วโมงพัฒนาได้

29 1. 2. วิธีการ ประสานให้ครูเข้ารับการพัฒนา
ส่วนราชการ/ผู้บังคับบัญชาส่งเสริมสนับสนุน ประสานให้ครูเข้ารับการพัฒนา ให้ข้าราชการครูประเมินตนเองตามแบบที่ ก.ค.ศ. กำหนดและจัดทำแผนพัฒนาตนเองเป็นรายปี 1. 2. ต่อ

30 3. 4. วิธีการ (ต่อ) อนุญาตให้ข้าราชการครูเข้ารับการพัฒนา
ให้ผู้อำนวยการสถานศึกษาตรวจสอบ และพิจารณา อนุญาตให้ข้าราชการครูเข้ารับการพัฒนา ให้ข้าราชการครูเข้ารับการพัฒนาแล้วนำผลการ พัฒนา บันทึกลงในประวัติการปฏิบัติงาน เสนอต่อ ผู้อำนวยการสถานศึกษา 3. 4. ต่อ

31 5. วิธีการ (ต่อ) เกี่ยวกับหลักสูตรที่สถาบันคุรุพัฒนารับรอง หรือตาม
ให้ผู้อำนวยการสถานศึกษาตรวจสอบเอกสารหลักฐาน เกี่ยวกับหลักสูตรที่สถาบันคุรุพัฒนารับรอง หรือตาม ก.ค.ศ. กำหนดแล้วรับรองผลสำเร็จการพัฒนานั้นใน บันทึกประวัติการปฏิบัติงาน 5.

32 ขอบข่ายหลักสูตรการพัฒนา
1. ด้านความรู้ 2. ด้านทักษะ 3. ด้านความเป็นครู

33 ขอบข่ายหลักสูตรการพัฒนา
1. ด้านความรู้ 1.1 เนื้อหาวิชาที่สอน ความสามารถ ฯลฯ 1.2 วิธีการสอน ถ่ายทอดความรู้ กิจกรรม ฯลฯ 1.3 หลักการสอนและกระบวนการจัดการเรียนรู้ 1.4 หลักสูตรการออกแบบการวางแผน ฯลฯ 1.5 หลักการศึกษา ปรัชญาการศึกษา ต่อ

34 ขอบข่ายหลักสูตรการพัฒนา
1. ด้านความรู้ 1.6 การจัดการศึกษา/การตอบสนองของผู้เรียน 1.7 ทฤษฎีการเรียนรู้และจิตวิทยาการเรียนรู้ 1.8 การใช้เทคโนโลยีและสื่อนวัตกรรม ฯลฯ 1.9 การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้

35 ขอบข่ายหลักสูตรการพัฒนา
2. ด้านทักษะ 2.1 หลักสูตร 2.2 การจัดการเรียนรู้ 2.3 การจัดบรรยากาศการเรียนรู้ 2.4 การใช้สื่อการเรียนรู้ 2.5 การวัดและการประเมินผล ต่อ

36 ขอบข่ายหลักสูตรการพัฒนา
2. ด้านทักษะ 2.6 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ 2.7 การทำงานร่วมกับผู้อื่น 2.8 การเรียนรู้เชิงวิชาชีพ 2.9 ภาษาอังกฤษ

37 ขอบข่ายหลักสูตรการพัฒนา
3. ด้านความเป็นครู 3.1 ยืดมั่น ผูกพัน ในวิชาชีพครู 3.2 มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี 3.3 ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 3.4 มีวินัยและรักษาวินัย 3.5 เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ต่อ

38 ขอบข่ายหลักสูตรการพัฒนา
3. ด้านความเป็นครู 3.6 นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ 3.7 มีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง

39 หลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู มีวิทยฐานะและเลื่อน วิทยฐานะ
( ว กรกฎาคม 2560 )

40 1. หลักเกณฑ์ หลักเกณฑ์และวิธีการนี้บังคับตั้งแต่ 5 กรกฎาคม 2560
เป็นต้นไป

41 2. คุณสมบัติ 2.1.1 ครู 5 ปี ขอชำนาญการ 5 5 5 5
2.1 ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง ครู 5 ปี ขอชำนาญการ ชำนาญการ 5 ปี ขอชำนาญการพิเศษ ชำนาญการพิเศษ 5 ปี ขอเชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญ 5 ปี ขอเชี่ยวชาญพิเศษ

42 2. คุณสมบัติ 2.2 ชั่วโมงปฏิบัติงานย้อนหลัง
2.2 ชั่วโมงปฏิบัติงานย้อนหลัง ขอชำนาญการ / เลื่อนเป็นชำนาญการพิเศษ - ชั่วโมงปฏิบัติงานปีละไม่น้อยกว่า 800 ชั่วโมง - โดยในชั่วโมงปฏิบัติงานต้องมีชั่วโมง PLC ปีละไม่น้อยกว่า 50 ชั่วโมง - ต้องมีชั่วโมงสอนขั้นต่ำตาม ก.ค.ศ กำหนดด้วย

43 2. หลักเกณฑ์ คุณสมบัติ 2.2 ชั่วโมงปฏิบัติงานย้อนหลัง
2.2 ชั่วโมงปฏิบัติงานย้อนหลัง ชำนาญการพิเศษขอเลื่อนเป็นเชี่ยวชาญหรือ เชี่ยวชาญพิเศษ - ชั่วโมงปฏิบัติงานปีละไม่น้อยกว่า 900 ชั่วโมง - โดยในชั่วโมงปฏิบัติงานต้องมีชั่วโมง PLC ปีละไม่น้อย กว่า 50 ชั่วโมง ต่อ

44 2.2.2 (ต่อ) - ต้องมีชั่วโมงสอนขั้นต่ำตามที่ ก.ค.ศ. กำหนดด้วย
- มีผลงานวิชาการ วิชา / สาขา /กลุ่มสาระ / ที่สอนใน 5 ปีย้อนหลัง

45 2. คุณสมบัติ 2.3 วินัยคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู
2.3 วินัยคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู - ไม่เคยถูกลงโทษวินัย / จรรยาบรรณวิชาชีพใน ช่วงเวลา 5 ปี ย้อนหลัง 2.4 ผ่านการพัฒนา ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กำหนด ในช่วงเวลา 5 ปี ย้อนหลัง (นับถึงวันยื่น)

46 2. คุณสมบัติ 2.5 ผลงานจากการปฏิบัติหน้าที่ สายงานการสอน
2.5 ผลงานจากการปฏิบัติหน้าที่ สายงานการสอน - ย้อนหลัง 5 ปีการศึกษา ติดต่อกัน นับถึงวันสิ้นปีการศึกษา ก่อนที่ยืนคำขอ - มีผลการประเมินตามเกณฑ์ ข้อ 5 - มีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ตามหลักเกณฑ์ ข้อ 6 ไม่น้อยกว่า 3 ปี การศึกษา (ดูจาก วฐ.2) - ผู้ขอและผู้อำนวยการสถานศึกษารับรองข้อมูลเอกสาร หรือหลักฐาน

47 3. ผู้ขอต้องผ่านการประเมิน ดังนี้
3.1 ทุกวิทยฐานะ ต้องผ่านการประเมินผลงาน ที่เกิดจากการ ปฏิบัติหน้าที่ พิจารณาจาก - ด้านการจัดการเรียนการสอน - ด้านการบริหารจัดการชั้นเรียน - ด้านการพัฒนาตนเอง / วิชาชีพ

48 3. ผู้ขอต้องผ่านการประเมิน ดังนี้
3.2 วิทยฐานะเชี่ยวชาญ / เชี่ยวชาญพิเศษ - ผู้ผ่านตาม 3.1 - ผ่านการประเมินผลงานทางวิชาการ แสดงถึงสมรรถนะการวิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพ ดังนี้ ต่อ

49 3. ผู้ขอต้องผ่านการประเมิน ดังนี้ 3.2.1 เชี่ยวชาญ
เชี่ยวชาญ - มีผลงานวิชาการ เป็นงานวิจัยในชั้นเรียนหรือรายงานผลการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เกิดจาก PLC / ผลงานวิชาการลักษณะอื่น - ผลงานวิชาการ / ผลงานลักษณะอื่น ไม่น้อยกว่า 2 รายการ เป็นวิจัยในชั้นเรียน อย่างน้อย 1 รายการ

50 3. ผู้ขอต้องผ่านการประเมิน ดังนี้ 3.2.2 เชี่ยวชาญพิเศษ
เชี่ยวชาญพิเศษ - เช่นเดียวกับ เชี่ยวชาญ - ผลงานวิชาการ / ผลงานลักษณะอื่น ไม่น้อยกว่า 1 รายการ - เป็นวิจัยเกี่ยวกับการจัดเรียนการสอน อย่างน้อย 1 รายการ

51 หลักเกณฑ์ 4. ผู้ประเมิน 4.1 ผู้อำนวยการสถานศึกษา ในฐานะผู้บังคับบัญชาประเมินผลงานที่เกิดจาการปฏิบัติหน้าที่ ทุกวิทยฐานะ - ให้ผู้อำนวยการสถานศึกษาตั้งคณะกรรมการจากครูในโรงเรียน/นอกโรงเรียน เพื่อตรวจสอบกลั่นกรองข้อมูลที่ครูรายงานเสนอความคิดเห็นประกอบการประเมิน ในแต่ละปีการศึกษา ต่อ

52 หลักเกณฑ์ 4. ผู้ประเมิน - การประเมินปีการศึกษาใด หากผู้อำนวยสถานศึกษาไม่ได้ประเมินผลงานครู ด้วยเหตุใดๆ ให้เสนอ กศจ. แต่งตั้งข้าราชการครูในจังหวัดนั้นเป็นผู้ประเมินแทน - ถ้าผู้ขอมีวิทยฐานะเลื่อนวิทยฐานะ สูงกว่าวิทยฐานะของผู้อำนวยการสถานศึกษา ให้เสนอ กศจ. แต่งตั้งครูในจังหวัดนั้นที่มี วิทยฐานะไม่ต่ำกว่าวิทยฐานะที่ขอเป็นผู้ร่วมประเมิน ครู 5 ปี วฐ.3

53 4. ผู้ประเมิน 4.2 คณะกรรมการที่ ก.ค.ศ. ตั้ง
4.2 คณะกรรมการที่ ก.ค.ศ. ตั้ง - ประเมินผลงานวิชาการที่ขอเชี่ยวชาญ/เชี่ยวชาญพิเศษ

54 5. ละ 1 ครั้ง โดย - ภาคเรียนที่ 1 ประเมินเพื่อให้คำแนะนำ
การประเมินผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ 5.1 ครูทำรายงาน รายปีการศึกษา (วฐ.2) เสนอผู้ประเมิน ปีละ 1 ครั้ง ต่อ 5.2 ผู้ประเมินระยะ 5 ปีการศึกษา ประเมินภาคเรียน ละ 1 ครั้ง โดย - ภาคเรียนที่ 1 ประเมินเพื่อให้คำแนะนำ

55 5. - ภาคเรียนที่ 2 ประเมินภาพรวมทั้งปี (ถ้าผ่านเกณฑ์ตาม
การประเมินผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ (ต่อ) - ภาคเรียนที่ 2 ประเมินภาพรวมทั้งปี (ถ้าผ่านเกณฑ์ตาม ข้อ 6) นำผลการประเมินไปขอมีหรือเลื่อนวิทยฐานะได้

56 6. - ผู้จะมีหรือเลื่อนต้องมีผลงาน 5 ปีการศึกษาย้อนหลัง เกณฑ์การตัดสิน
ติดต่อกันนับถึงวันสิ้นปีการศึกษา - โดยต้องผ่านเกณฑ์การประเมินไม่น้อยกว่า 3 ปีการศึกษา - ผลงานวิชาการ ผ่านเกณฑ์ตาม ก.ค.ศ. กำหนด ดังนี้ ต่อ

57 6.1 ชำนาญการ ชำนาญการ/ชำนาญการพิเศษ
ต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด/มีระดับมีระดับคุณภาพผลงาน ดังนี้ 1. ด้านที่ 1 การจัดการเรียนการสอนทุกตัวชี้วัดและต้องมีผลการประเมินไม่ต่ำ กว่าระดับ 2 2. ด้านที่ 2 การบริหารจัดการชั้นเรียน และด้านที่ 3 การพัฒนาตนเอง / พัฒนาวิชาชีพแต่ละด้านต้องมีผลประเมินไม่ต่ำกว่า ระดับ 2 ไม่น้อยกว่า 1 ตัวชี้วัด

58 6.1 ชำนาญการพิเศษ ชำนาญการ/ชำนาญการพิเศษ
ต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด/มีระดับมีระดับคุณภาพผลงาน ดังนี้ 1. ด้านที่ 1 การจัดการเรียนการสอนทุกตัวชี้วัดและต้องมีผลการประเมินไม่ต่ำ กว่าระดับ 3 และ 2. ด้านที่ 2 การบริหารจัดการชั้นเรียน ต้องมีผลการประเมินทั้ง 2 ด้าน ไม่ต่ำกว่า ระดับ 2 และรวมกันแล้วไม่น้อยกว่า 3 ตัวชี้วัด

59 6.1 เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญ/เชี่ยวชาญพิเศษ
ต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด/มีระดับคุณภาพผลงาน ดังนี้ 1. ด้านที่ 1 การจัดการเรียนการสอน ทุกตัวชี้วัดและต้องมีผลการประเมินไม่ต่ำ กว่าระดับ 4 และ 2. ด้านที่ 2 การบริหารจัดการชั้นเรียน และด้านที่ 3 การพัฒนาตนเองและ พัฒนาวิชาชีพต้องมีผลการประเมินทั้ง 2 ด้าน ไม่ต่ำกว่าระดับ 3 และรวมกัน แล้วไม่น้อยกว่า 3 ตัวชี้วัด 3. ผลงานทางวิชาการ ต้องได้คะแนนจากกรรมการแต่ละคนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 75

60 6.2 เชี่ยวชาญพิเศษ เชี่ยวชาญ/เชี่ยวชาญพิเศษ
ต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด/มีระดับมีระดับคุณภาพผลงาน ดังนี้ 1. ด้านที่ 1 การจัดการเรียนการสอนทุกตัวชี้วัดและต้องมีผลการประเมินไม่ต่ำ กว่าระดับ 5 และ 2. ด้านที่ 2 การบริหารจัดการชั้นเรียน และด้านที่ 3 การพัฒนาตนเองและ พัฒนาวิชาชีพต้องมีผลการประเมินทั้ง 2 ด้าน ไม่ต่ำกว่าระดับ 4 และรวมกัน แล้วไม่น้อยกว่า 3 ตัวชี้วัด 3. ผลงานทางวิชาการ ต้องได้คะแนนจากกรรมการแต่ละคน ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80

61 7. 7.1 ชำนาญการ / ชำนาญการพิเศษ การพิจารณาอนุมัติผลการประเมิน
- กศจ. เป็นผู้อนุมัติ ไม่ก่อนวันที่ สนง.ศธจ. ได้รับคำขอ 7.2 เชี่ยวชาญ/ เชี่ยวชาญพิเศษ - ก.ค.ศ. เป็นผู้อนุมัติ ไม่ก่อนวันที่ สนง.ก.ค.ศ. ได้รับคำขอ

62 8. กศจ. หรือ ก.ค.ศ. พิจารณาผลการประเมินและมีมติเป็นประการใดให้ถือเป็นที่สุด

63 9. ให้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการนี้โดยเคร่งครัด หากตรวจสอบว่าจงใจหรือประมาทเลินเล่อหรือดำเนินการ มิชอบใดๆ ให้ถือว่าเป็นความรับผิดชอบของผู้ขอและผู้เกี่ยวข้องเป็นความรับผิดชอบทางวินัย แล้วแต่กรณี

64 การดำเนินการช่วงเปลี่ยนผ่าน
( ว ก.ย.2552 และ ว.21 5 ก.ค )

65 *ยื่นขอได้ 1 ครั้งเพียงวิทยฐานะเดียว ดังนี้*
1. ผู้จะขอตาม ว.17 *ยื่นขอได้ 1 ครั้งเพียงวิทยฐานะเดียว ดังนี้* 1.1 ยื่นไว้แล้วได้รับการอนุมัติ มีคุณสมบัติครบจะขอถัดไปได้อยู่แล้ว ให้ยื่นขอ ภายใน 1 ปี นับแต่วันที่มีหนังสือแจ้งมติ หากวันมีหนังสือแจ้งมติคุณสมบัติ ยังไม่ครบ ที่จะขอวิทยฐานะถัดไป ให้ยื่นขอได้ ภายใน 1 ปี นับแต่วันที่คุณสมบัติครบ

66 *ยื่นขอได้ 1 ครั้งเพียงวิทยฐานะเดียว ดังนี้*
1. ผู้จะขอตาม ว.17 *ยื่นขอได้ 1 ครั้งเพียงวิทยฐานะเดียว ดังนี้* 1.2 ยื่นไว้แล้วไม่ได้รับการอนุมัติ ให้ยื่นขอได้ภายใน 1 ปี นับแต่วันที่มีหนังสือแจ้งมติ

67 ผู้มีคุณสมบัติครบทั้ง ว.17 และ ว.21 ผู้มีคุณสมบัติครบเฉพาะตาม ว.17
2. ผู้มีคุณสมบัติครบทั้ง ว.17 และ ว.21 2.1 ให้ยื่นได้ตาม ว.17 หรือ ว.21 เพียงอย่างเดียว 2.2 ยื่นตาม ว.17 ไว้ก่อน ว.21 ใช้บังคับ แต่การพิจารณายังไม่ เสร็จ หากยื่นตาม ว.21 ให้มีหนังสือแจ้งยกเลิก ที่ยื่นไว้เดิมตาม ว.17 ส่งถึงเขตพื้นที่การศึกษา / หรือ ก.ค.ศ. แล้วแต่กรณี 3. ผู้มีคุณสมบัติครบเฉพาะตาม ว.17 ผู้มีคุณสมบัติครบเฉพาะตาม ว.17 อยู่ก่อนวันที่ ว.21 ใช้บังคับ - หากจะยื่นตาม ว.17 ให้ยื่นได้ภายใน 1 ปี นับแต่ ว.21 ใช้บังคับ ( 5 ก.ค )

68 ผู้มีคุณสมบัติครบเฉพาะตาม ว.17 ดำรงตำแหน่งครูตั้งแต่ ว.21 ใช้บังคับ
4. ผู้มีคุณสมบัติครบเฉพาะตาม ว.17 ตั้งแต่ วันที่ ว.21 ใช้บังคับ (5 ก.ค.2560) - หากจะยื่นตาม ว.17 ให้ยื่นได้ภายใน 1 ปี นับแต่มีคุณสมบัติครบ 5. ดำรงตำแหน่งครูตั้งแต่ ว.21 ใช้บังคับ - ให้ยื่นตาม ว.21 เว้นแต่ - ผู้มีกรณีตามเงื่อนไข ว.26 (30 ธ.ค. 2559) หมายถึง (ว.17 ปี 2548 /ว.17 ปี 2552 / ว.10 ปี 2554 / ว.20 ปี 2559) 1. ก.ค.ศ. ปรับปรุงหลักเกณฑ์ฯ 4 จังหวัดชายแดนภาตใต้ 2. ครูฯ ที่สำเร็จ ป.โท หรือ ป.เอก ก่อน 9 ธ.ค ให้นำวุฒิดังกล่าวมาลดระยะเวลาการขอมีวิทยฐานะครูชำนาญการได้ (วุฒิ ที่ ก.ค.ศ.รับรอง)

69 ดำรงตำแหน่งครูตั้งแต่ ว.21 ใช้บังคับ (ต่อ)
5. ดำรงตำแหน่งครูตั้งแต่ ว.21 ใช้บังคับ (ต่อ) 3. ครูฯที่ลาศึกษา(ไม่ใช้เวลาราชการ) ป.โท หรือ ป.เอก ก่อน 9 ธ.ค เมื่อจบการศึกษาแล้วนำวุฒิมาลดเวลาขอมีวิทยฐานะชำนาญการได้ (วุฒิ ที่ ก.ค.ศ.รับรอง) 4. ครูฯที่ลาศึกษา(ไม่ใช้เวลาราชการ) ป.โท หรือ ป.เอก ตั้งแต่ 9 ธ.ค เป็นต้นไป หากจะขอมีวิทฐานะครูชำนาญการให้ดำเนินการตาม ว.20 5. ผู้สอบแข่งขันได้หรือผู้ได้รับการคัดเลือก และได้บรรจุแต่งตั้งเป็นครู ตั้งแต่ 9 ธ.ค เป็นต้นไป หากมีวุฒิ ป.โท หรือ ป.เอก ถ้าจะขอมี วิทยฐานะครูชำนาญการ ให้ดำเนินการตาม ว.20 ถ้าจะขอชำนาญการตาม ว.17 ยืนขอได้ 1 ครั้ง ภายใน 1 ปี นับแต่วัน คุณสมบัติครบ

70 ผู้ที่ในช่วงเปลี่ยนผ่านไปแล้ว / หรือมิได้ยื่น
6. ผู้ที่ในช่วงเปลี่ยนผ่านไปแล้ว / หรือมิได้ยื่น ภายในระยะเวลา ตามข้อ 1,3,4,5 แล้วแต่กรณี ถ้าจะยื่นต้องดำเนินการตาม ว.21 7. ในช่วงเปลี่ยนผ่าน หากผู้ยื่นมีคุณสมบัติตาม ว.21 - ข้อ 2.1 ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง - ข้อ 2.3 วินัย คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ - แต่ข้อ 2.2 ชั่วโมง ปฏิบัติงาน - ข้อ 2.4 การพัฒนา - ข้อ 2.5 ผลงานไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ หากประสงค์จะข้อรับการประเมินตาม ว.21 ต้องมี คุณสมบัติดังนี้

71 7. ในช่วงเปลี่ยนผ่าน 7.1 ชั่วโมงปฏิบัติงานสะสมในตำแหน่งปัจจุบันย้อนหลัง 5 ปี นับถึงวันยื่นขอ ดังนี้ 7.1.1 ขอมีชำนาญการหรือขอเลื่อนเป็นชำนาญการพิเศษต้อง - มีภาระงานสอนไม่ต่ำกว่าขั้นต่ำ ที่ส่วนราชการกำหนด โดยความเห็นชอบของ ก.ค.ศ. - มีภาระงานสอนสะสมย้อนหลัง 5 ปี รวมกันไม่น้อย กว่า 4,000 ชั่วโมง

72 7. ในช่วงเปลี่ยนผ่าน 7.1.2 ขอมีเชี่ยวชาญหรือขอเลื่อนเป็นเชี่ยวชาญพิเศษ ต้อง - มีภาระงานสอนไม่ต่ำกว่าขั้นต่ำ ที่ส่วนราชการกำหนดโดยความเห็นชอบของ ก.ค.ศ. - มีภาระงานสอนสะสมย้อนหลัง 5 ปี รวมกันไม่น้อยกว่า 4,500 ชั่วโมง

73 7. ในช่วงเปลี่ยนผ่าน 7.2 ผ่านการพัฒนาตามเกณฑ์ / วิธีการที่ ก.ค.ศ. กำหนด 7.3 มีผลงานเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่สายงานการสอน ในช่วงระยะเวลาย้อนหลัง 5 ปี การศึกษาติดต่อกัน นับถึงวันสิ้นปีการศึกษา

74 ผู้ประสงค์จะขอรับการประเมินตาม ว.21
8. ผู้ประสงค์จะขอรับการประเมินตาม ว.21 8.1 ชำนาญการ / ชำนาญการพิเศษ (ยื่นเอกสารต่อสถานศึกษา 2 ชุด) 1. คำขอมี / เลื่อน (วฐ.1) 2. ราบงานผลที่เกิดจากการปฏิบัติงาน (วฐ.2) 5 ปีการศึกษา 3. เอกสารหลักฐานอื่น เช่น ตารางสอบ,คำสั่ง, วุฒิการศึกษา

75 ผู้ประสงค์จะขอรับการประเมินตาม ว.21
8. ผู้ประสงค์จะขอรับการประเมินตาม ว.21 8.2 เชี่ยวชาญ/ เชี่ยวชาญพิเศษ (ยื่นเอกสารต่อสถานศึกษา 4 ชุด) 1. คำขอมี / เลื่อน (วฐ.1) 2. ราบงานผลที่เกิดจากการปฏิบัติงาน (วฐ.2) 5 ปีการศึกษา 3. เอกสารหลักฐานอื่น เช่น ตารางสอบ,คำสั่ง, วุฒิการศึกษา 4. ผลงานวิชาการ ไม่น้อยกว่า 2 รายการ

76 การขอมี/เลื่อนสำหรับผู้จะเกษียณราชการในปีที่ขอ
9. การขอมี/เลื่อนสำหรับผู้จะเกษียณราชการในปีที่ขอ 9.1 ชำนาญการ/ ชำนาญการพิเศษ - ยื่นคำขอพร้อมเอกสาร (ตาม 8.1) ผู้อำนวยการ สถานศึกษาตรวจสอบและรับรอง - ส่ง สนง.ศึกษาธิการจังหวัด ก่อนวันเกษียณไม่น้อย กว่า 6 เดือน 9.1 เชี่ยวชาญ/ เชี่ยวชาญพิเศษ - ยื่นคำขอพร้อมเอกสาร (ตาม 8.2) ผู้อำนวยการ - ส่ง สนง.ก.ค.ศ. ก่อนวันเกษียณไม่น้อย

77 ขอขอบพระคุณทุกท่าน


ดาวน์โหลด ppt การดำเนินการช่วงเปลี่ยนผ่าน ณ ห้องประชุมราชพฤกษ์ สพป.นครราชสีมา เขต 1

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google