งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

1 เอกสารประกอบการอบรม ข้าราชการและพนักงาน สายสนับสนุนในมหาวิทยาลัย เพื่อทำผลงานทางวิชาการในการกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้นเป็นระดับ ชำนาญงาน ชำนาญงานพิเศษ ชำนาญการ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "1 เอกสารประกอบการอบรม ข้าราชการและพนักงาน สายสนับสนุนในมหาวิทยาลัย เพื่อทำผลงานทางวิชาการในการกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้นเป็นระดับ ชำนาญงาน ชำนาญงานพิเศษ ชำนาญการ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 1 เอกสารประกอบการอบรม ข้าราชการและพนักงาน สายสนับสนุนในมหาวิทยาลัย เพื่อทำผลงานทางวิชาการในการกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้นเป็นระดับ ชำนาญงาน ชำนาญงานพิเศษ ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ และ เชี่ยวชาญ หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ กรอบตำแหน่ง ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ เรืองชัย จรุงศิรวัฒน์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนเชี่ยวชาญ ผู้เชี่ยวชาญประจำสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผู้ทรงคุณวุฒิประเภทบัญชีรายชื่อของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารงานบุคคล มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

2 ภารกิจของหน่วยงาน จะบอกความจำเป็นใน การมีตำแหน่งที่สูงขึ้น

3 การวิเคราะห์ค่างาน จะบอกจำนวน ตำแหน่งที่สูงขึ้น มีได้เท่าใด

4 แนวทางกำหนด ตำแหน่งที่สูงขึ้น ของ ก.พ.

5 5 ที่มา : เอกสารการบรรยาย การวิเคราะห์งานเพื่อกำหนดตำแหน่ง จัดทำโดย สำนักงานข้าราชการพลเรือน ( กพ.)

6 แนวทางกำหนด ตำแหน่งที่สูงขึ้น ของ ก.พ.อ.

7 ประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง มาตรฐานการกำหนดระดับ ตำแหน่ง&การแต่งตั้ง ขรก.พลเรือน ในสถาบันอุดมศึกษา ให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น ลงวันที่ 22 ธค.2553

8 8 การกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้น ตำแหน่งนั้นจะต้องมี หน้าที่และความรับผิดชอบ คุณภาพและความยุ่งยากของงาน ในตำแหน่งเพิ่มขึ้นหรือเปลี่ยนแปลงในสาระสำคัญถึงขนาดที่ จะต้องกำหนดตำแหน่งเป็นระดับสูงขึ้น * การกำหนดระดับตำแหน่ง ต้องยึดหลักการวิเคราะห์ ภารกิจของหน่วยงานและประเมินค่างานเพื่อวัดคุณภาพของ ตำแหน่งตามลักษณะงาน หน้าที่และความรับผิดชอบ คุณภาพ และความยุ่งยากของงาน ** * ข้อ 2, ** ข้อ 3 ประกาศ ก. พ. อ. เรื่อง มาตรฐานการกำหนดระดับ ตำแหน่งและการแต่ง ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาให้ดำรง ตำแหน่งที่สูงขึ้น พ. ศ.2553

9 9 หน่วยงานใด จะมีตำแหน่ง อะไรได้บ้าง

10 กรอบระดับ ชำนาญงาน ชำนาญงานพิเศษ ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ 10 กำหนดให้มีได้ทั้งหน่วยงานที่ปฏิบัติภารกิจหลักของ สถาบันอุดมศึกษาซึ่งเป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่สอน วิจัย ให้บริการวิชาการ และ หน่วยงานที่ปฏิบัติภารกิจสนับสนุน ภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาเช่นใน สนง. คณบดี / เทียบเท่า และหน่วยงานใน สนอ. * ข้อ 3 (1) ตามประกาศก. พ. อ. เรื่อง มาตรฐานการกำหนด ระดับตำแหน่ง & การแต่งตั้ง ขรก. พลเรือนในสถาบันอุดม ศึกษาให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น

11 11 กำหนดให้มีได้เฉพาะหน่วยงานที่ปฏิบัติภารกิจหลัก ของสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่สอน วิจัย ให้บริการวิชาการ และ สำนักงานอธิการบดี ( ไม่รวม กอง ) * ข้อ 3 (2) ตามประกาศก. พ. อ. เรื่อง มาตรฐานการกำหนด ระดับตำแหน่ง & การแต่งตั้ง ขรก. พลเรือนในสถาบันอุดม ศึกษาให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น ระดับ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ

12 12 หลักเกณฑ์และการกำหนดระดับตำแหน่งต้องสอดคล้อง กับกรอบตำแหน่ง และ แผนพัฒนากำลังคน ที่สภาสถาบัน อุดมศึกษากำหนด มาตรา 20 ให้สภาสถาบันอุดมศึกษากำหนดกรอบของตำแหน่ง อันดับเงินเดือนของตำแหน่งและจำนวนของ ข้าราชการพลเลือนในสถาบันอุดมศึกษาที่พึงมีใน สถาบันอุดมศึกษานั้น รวมทั้งภาระหน้าที่ความ รับผิดชอบของตำแหน่ง และคุณสมบัติเฉพาะ ตำแหน่งการกำหนดตามวรรคหนึ่งให้กำหนดคราว ละสี่ปี โดยต้องคำนึงถึงความมีประสิทธิภาพความ ไม่ซ้ำซ้อน ความประหยัด และต้องสอดคล้องกับ หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่ ก.พ.อ. กำหนด

13 13

14 14 เปรียบเทียบ ตำแหน่งที่สูงขึ้น เดิม - ปัจจุบัน

15 15 เดิม สาย ข. -ชำนาญการ 6, 7-8 -เชี่ยวชาญ 9 -เชี่ยวชาญพิเศษ 10 สาย ค. -ชำนาญการ 6, 7-8 -ชำนาญการพิเศษ 9 -ชำนาญการพิเศษ 10 ปัจจุบัน ทั่วไป -ชำนาญงาน (5-6) -ชำนาญงานพิเศษ (7-8) วิชาชีพเฉพาะ และเชี่ยวชาญ เฉพาะ -ชำนาญการ (6-7) -ชำนาญการพิเศษ (8) -เชี่ยวชาญ (9) -เชี่ยวชาญพิเศษ (10)

16 16 อำนาจการวิเคราะห์กรอบ ตำแหน่งที่สูงขึ้น

17 17 เดิมอำนาจในการกำหนดกรอบตำแหน่งที่ สูงขึ้น เป็นอำนาจของทบวงฯ(สกอ.ในปัจจุบัน) ซึ่งก่อนที่ทบวงฯ จะแปรสภาพมาเป็น สกอ.ใน ปัจจุบัน ทบวงฯได้วิเคราะห์กรอบตำแหน่งที่ สูงขึ้นให้กับทุกมหา'ลัย โดยระบุลงลึกไปถึง ระดับคณะ และภาควิชา รวมทั้งกองต่างๆใน สนอ. แล้วแจ้งไปยัง มหา'ลัยต่างๆ แต่ละ มหา' ลัยก็จะได้กรอบอัตราในจำนวนที่ไม่เท่ากัน

18 18

19 19

20 20

21 21

22 22

23 23

24 24

25 25

26 26 ต่อมาเมื่อทบวงฯ ก่อนจะแปรสภาพมาเป็น สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา(สกอ.) จึงได้มีการมอบอำนาจการวิเคราะห์กรอบฯนี้ไป ให้กับมหาวิทยาลัยต่างๆ วิเคราะห์กรอบเอง แต่ ต้องกระทำภายใต้หลักเกณฑ์ที่ สกอ.กำหนด

27 27

28 28

29 29

30 30

31 31

32 32

33 33 ตัวอย่าง กรอบตำแหน่งที่สูงขึ้น ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ( หลังจากที่รับอำนาจมา )

34 34 กรอบ ชำนาญงาน ชำนาญงานพิเศษ ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ และ เชียวชาญพิเศษ ของ ม. ขอนแก่น

35 35

36 36

37 37 กรอบ ชำนาญงาน ชำนาญงานพิเศษ ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ และ เชียวชาญพิเศษ ของ ม. สงขลานครินทร์

38 38

39 39

40 40

41 41

42 42

43 43 ตัวอย่าง วิธีการกำหนด กรอบจาก บนลงล่าง

44 44 กรอบตำแหน่ง วิชาชีพเฉพาะ หรือ เชี่ยวชาญเฉพาะ

45 3 7 20 30 40 เชี่ยวชาญ พิเศษ เชี่ยวชา ญ ชำนาญการ พิเศษ ชำนาญ การ ปฏิบัติกา ร

46 แบบที่ 2 40 30 20 7 3 เชี่ยวชาญ พิเศษ เชี่ยวชา ญ ชำนาญการ พิเศษ ชำนาญ การ ปฏิบัติกา ร

47 แบบที่ 3 20 5 เชี่ยวชาญ พิเศษ เชี่ยวชา ญ ชำนาญการ พิเศษ ชำนาญ การ ปฏิบัติกา ร 5 20 50

48 48 กรอบตำแหน่ง ประเภท ทั่วไป

49 แบบที่ 1 10 30 60 ชำนาญงาน พิเศษ ชำนาญงาน ปฏิบัติงา น

50 แบบที่ 2 60 30 10 ชำนาญงาน พิเศษ ชำนาญงาน ปฏิบัติงา น

51 แบบที่ 3 25 ชำนาญ งานพิเศษ ชำนาญงาน ปฏิบัติงา น 25 50

52 52 ** ที่สำคัญถ้าจะเลือกวิธีการ กำหนดกรอบจากบนลงล่าง หากผู้บริหารที่มีธรรมมาภิบาล ควรมีเหตุผลบอกด้วยว่า.. ทำไมถึงต้องเป็นเท่านี้.. เท่านั้น..เปอร์เซ็นต์

53 53 วิธีกำหนดกรอบ จาก ล่างขึ้นบน

54 54 ตัวอย่างการเขียน ขอกำหนด กรอบ ชำนาญการ จากล่างขึ้นบน (ขึ้นด้วยตนเองที่มีประสบการณ์)

55 ตัวอย่าง การขอกำหนดตำแหน่ง ชำนาญการ 55

56 56

57 ประเด็น ในการเขียนเหตุผลความจำเป็นในการ กำหนดตำแหน่งสูงขึ้น 57 ควรเขียนเหตุผลความจำเป็นฯ ในลักษณะดังนี้..

58 58

59

60 60

61 61

62 62

63 63 ตัวอย่างการเขียน ภาระงาน ของกรอบตำแหน่ง

64 64

65 65 ตัวอย่างการเขียน วิเคราะห์ภาระงาน ของผู้บังคับบัญชา

66 66

67 67

68 ตัวอย่าง : มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง จ. บริหารชำนาญการ 68

69 69

70 70

71 71 ตัวอย่างการเขียน ขอกำหนด กรอบตำแหน่ง เชี่ยวชาญ

72 72 สี่ข้อแรก เหมือนระดับ ชำนาญการพิเศษ

73 73

74 74

75 75 ตัวอย่าง : มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง จ. บริหารฯ เชี่ยวชาญ

76 76 ตัวอย่าง : มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง น. คอมฯ เชี่ยวชาญ

77 77 ( หัวหน้าหน่วยงานระดับ กอง / ภาควิชา / ฝ่าย ) เชี่ยวชาญ

78 78 ตำแหน่งใดจะมี ความก้าวหน้า สูงสุดได้ถึงระดับใด?

79 79 จ.บริหารฯ จะมีความก้าวหน้า สูงสุดได้ถึงระดับใด?

80 80

81 81 1 2 3 4

82 82 น.คอมพิวเตอร์ จะมีความก้าวหน้า สูงสุดได้ถึงระดับใด?

83 83

84 84 1 2 3 4 5

85 85 น.ช่างทันตกรรม จะมีความก้าวหน้า สูงสุดได้ถึงระดับใด?

86 86

87 87 1 2 3 ข้อสังเกต : ตำแหน่งอื่นๆที่เริ่มต้นด้วย ป. ตรี จะก้าวหน้าได้ถึงระดับ เชี่ยวชาญ เป็นอย่างน้อย นักวิชาการทันกรรม ได้แค่ ระดับชำนาญการพิเศษ เท่านั้น

88 88 เจ้าหน้าที่วิจัย จะมีความก้าวหน้า สูงสุดได้ถึงระดับใด?

89 89

90 90 ข้อสังเกต : ตำแหน่งอื่นๆที่เริ่มต้นด้วย ป. ตรี จะก้าวหน้าได้ถึงระดับ เชี่ยวชาญ เป็นอย่างน้อย แต่เจ้าหน้าที่วิจัยได้แค่ระดับ ชำนาญการ เท่านั้น 1 2 3 4 5 1 2

91 91 ผู้ปฏิบัติงานบริหาร จะมีความก้าวหน้า สูงสุดได้ถึงระดับใด?

92 92 1 2 3

93 93 ผู้ปฏิบัติงานพยาบาล (ผู้ช่วยพยาบาล) จะมีความก้าวหน้า สูงสุดได้ถึงระดับใด?

94 94 1 2 ข้อสังเกต : ตำแหน่งอื่นๆที่เริ่มต้นด้วยต่ำกว่า ป. ตรี จะก้าวหน้าได้ถึง ระดับชำนาญงานพิเศษ แต่ผู้ช่วยพยาบาลได้แค่ระดับ ชำนาญงาน เท่านั้น

95 95 1 2

96 96 1 2

97 97 1 2

98 98 1 2

99 99 1 2

100 100 1 2

101 101 1 2

102 102 1 2

103 103 1 2

104 104 1 2

105 105 1 2

106 106 1 2

107 107 1 2

108 108 1 2

109 109 1 2

110 110 1 2

111 111 1 2

112 112 1 2

113 สรุปความก้าวหน้าของสายสนับสนุน ชำนาญงาน ชำนาญงานพิเศษ ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ 113 แท่งทั่วไป ( ยกเว้น ผช. พยาบาล ) แท่งวิชาชีพเฉพาะหรือ เชี่ยวชาญเฉพาะ ( ยกเว้น น. ทันตกรรม และ จ. วิจัย )

114 114 ผลงานทางวิชาการ ที่จะส่งให้ตรวจ / ขอคำแนะนำ ชื่อและสกลุ ตำแหน่งและระดับ หน่วยงานและมหา ’ ลัย ภาพถ่ายปัจจุบัน ( เข้าทำเนียบ ) ส่งครั้งละบท หน้าปกที่มีชื่อเรื่อง ( อะไร ) เบอร์โทรมือถือ

115 115 มีปัญหา ปรึกษา ติดต่อ.... 089-617-7878 หรือ ruajar@kku.ac.th


ดาวน์โหลด ppt 1 เอกสารประกอบการอบรม ข้าราชการและพนักงาน สายสนับสนุนในมหาวิทยาลัย เพื่อทำผลงานทางวิชาการในการกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้นเป็นระดับ ชำนาญงาน ชำนาญงานพิเศษ ชำนาญการ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google