งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สุภารัตน์ วังศรีคูณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สุภารัตน์ วังศรีคูณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สุภารัตน์ วังศรีคูณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การดำเนินงาน และการรายงานผลการดำเนินงาน ตามแนวทางประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร สุภารัตน์ วังศรีคูณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

2 วางแผน รายงานผล รายงานผล รายงานผล รายงานผล ดำเนินงาน ดำเนินงาน วางแผน
3 ดำเนินงาน รายงานผล วางแผน รายงานผล วางแผน 1 2 4

3 การรายงานผลการดำเนินงาน
เขียนในสิ่งที่ทำ ดำเนินงาน รายงานผล วางแผน ปรับปรุง ทำในสิ่งที่เขียน

4 จะดำเนินงานได้ดี ต้องมีแผน
แผนจะดี ต้องมีเป้าหมายชัด เป้าหมายจะชัดเจน ต้องเข้าใจเกณฑ์อย่างแจ่มแจ้ง

5 การเขียนรายงานผลการดำเนินงาน
รายงานในสิ่งที่เกณฑ์ถาม มีรายละเอียดข้อมูลเพียงพอ เพื่อแสดงว่ามี การดำเนินงานตาม เกณฑ์ จัดเรียงข้อมูลให้ง่ายต่อความ เข้าใจของผู้อ่าน ตรวจสอบความถูกต้องของ ข้อมูลที่รายงาน

6 กระบวนการ กระบวนการที่ดี ต้องเป็นระบบ มี ขั้นตอนที่ชัดเจน สามารถทำซ้ำได้ (ระบุ ได้ว่าว่าใคร ทำอะไร เมื่อไหร่ อย่างไร) การประเมินกระบวนการ ไม่ใช่การ ประเมินกิจกรรมแต่เป็นการประเมินว่าเมื่อ ทำตามขั้นตอน วิธีการในกระบวนการ แล้วก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์หรือไม่ แต่ละขั้นตอนมีข้อขัดข้อง ปัญหาอุปสรรค อย่างไร ท่านปรับปรุงกระบวนการของ ท่านอย่างไรเพื่อมุ่งให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีขึ้น อย่างไร

7 การรายงานตัวชี้วัดกระบวนการ
การกำหนดคุณสมบัติ จำนวน เกณฑ์ วิธีการรับ การประชาสัมพันธ์ การรับสมัคร การคัดเลือก การวิเคราะห์ประสิทธิผล ควรรายงาน กระบวนการที่มีการ ดำเนินการในเรื่องนั้น ๆ หากเป็นไปได้ควรรายงาน ขั้นตอนของกระบวนการ (ไม่ใช่รายละเอียดของกิจกรรมที่ ทำ) ระบุว่าขั้นตอนดังกล่าว ดำเนินงานอะไร โดยใคร เมื่อไหร่ อย่างไร รายงานการประเมิน กระบวนการ และการ ปรับปรุงกระบวนการที่ได้ ดำเนินการ การรับนักศึกษา

8 การเลือก อาจารย์ที่ปรึกษา-นักศึกษา
การรวบรวมข้อมูลความเชี่ยวชาญอาจารย์ในหลักสูตร การวิเคราะห์ข้อมูลภาระงานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ของอาจารย์ในหลักสูตร การรวบรวมข้อมูลประเด็นที่นักศึกษาสนใจทำวิทยานิพนธ์ การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษา การประเมินประสิทธิผล การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา ที่มีความเชี่ยวชาญสอดคล้องหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์

9 ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์
ข้อ 8 การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของ ผู้สำเร็จการศึกษา ควรรายงาน ชื่อนักศึกษาที่สำเร็จ การศึกษาในปีการศึกษาที่รายงาน ชื่อผลงาน แหล่งที่ตีพิมพ์ กรณีที่หลักสูตร ป.โทที่มีเฉพาะแผน ก หรือ ป. เอก จำนวน นศ.ที่สำเร็จในส่วนนี้ ต้องสอดคล้อง กับข้อมูลในองค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต ตัวบ่งชี้ 2.2 ในส่วนข้อมูลจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาที่นำมาใช้ คำนวนร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานที่ ตีพิมพ์เผยแพร่ฯ

10 นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา
ข้อ 8 การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของผู้สำเร็จ การศึกษา ตัวอย่างการรายงานข้อมูลการตีพิมพ์เผยแพร่ นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา ชื่อผลงาน แหล่งเผยแพร่ ค่าน้ำหนัก 1. …….. ……………………………… …… ….

11 ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์
ข้อ 9 ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระ ควรรายงานชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระของนักศึกษาทุกคนใน หลักสูตร พร้อมทั้งภาระงาน ***นับเฉพาะอาจารย์ที่ปรึกษาหลักเท่านั้น กรณีที่อาจารย์ท่านนั้นเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหลัก ของนักศึกษาหลายหลักสูตร ให้นับภาระงานทุก หลักสูตร *** สามารถตรวจสอบข้อมูลได้จากเวปไซด์บัณฑิตวิทยาลัย

12 ข้อ 9 ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ
ตัวอย่างการรายงาน แบบ 1 ชื่ออาจารย์ ปีการศึกษา 2558 Thesis IS หน่วยภาระงาน รศ.ดร…. a 6 รศ.ดร…. 2 a ขออนุมัติให้ควบคุมวิทยานิพนธ์มากกว่า 5 เรื่อง จากบัณฑิตวิทยาลัยแล้ว ตัวอย่างการรายงาน แบบ 2 ชื่ออาจารย์ ภาค 1/2558 ภาค 2/2558 Thesis IS หน่วยภาระงาน ผศ.ดร…. 3  0 2 7 8

13 ตัวบ่งชี้ที่ 2. 2 ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับ
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับ... ที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ นักศึกษาและผู้สำเร็จ การศึกษา ชื่อผลงาน แหล่งเผยแพร่ ค่าน้ำหนัก ชื่อวารสาร ฉบับ ปีที่พิมพ์ หน้า ... ผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาทั้งหมด (ปีการศึกษา) ร้อยละของผลงานของผู้เร็จการศึกษาที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ รายงานเฉพาะผลงานที่ตีพิมพ์ในปีปฏิทิน เช่น การรายงานในปีการศึกษา ให้รายงานเฉพาะผลงานที่ตีพิมพ์ในปี พ.ศ เท่านั้น ตรวจสอบค่าน้ำหนักให้ถูกต้อง *** ป.โท และ ป.เอก ค่าน้ำหนักต่างกัน***

14 องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา: ตัวบ่งชี้ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา
- รายงานให้ครบ (การคงอยู่ การสำเร็จการศึกษา ความพึงพอใจ และผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา) หาก มีข้อมูลให้รายงานแนวโน้ม (ข้อมูลอย่างน้อย 3 ปี) - ตัวชี้วัดที่พบการรายงานไม่ตรง วัตถุประสงค์บ่อยๆ คือ ความพึงพอใจ “เจตนารมณ์ของเกณฑ์ต้องการให้มีการ รายงานความพึงพอใจของนักศึกษาต่อ กระบวนการในตัวบ่งชี้ 3.1 (การรับนักศึกษา) และตัวบ่งชี้ 3.2 (การส่งเสริมและพัฒนา นักศึกษา)”

15 องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์: ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร
ตัวอย่างการรายงาน ลำดับที่ ผลงาน ค่าน้ำหนัก หมายเหตุ 0.6 TCI 2 1.0 ISI SCOPUS รายงานรายละเอียดให้ครบตามรูปแบบการเขียนบรรณานุกรม รายงานผลงานที่มีการตีพิมพ์ตามปี พ.ศ. (ปีการศึกษา 2559 ให้รายงานการตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2559) รายงานผลงานเฉพาะอาจารย์ประจำหลักสูตร (ผลงานอาจารย์ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตรไม่นับ) ผลงานของนักศึกษาที่มีชื่ออาจารย์ร่วมตีพิมพ์สามารถนับได้ ตรวจสอบค่าน้ำหนักให้ถูกต้อง

16 ฐานข้อมูลที่ได้รับการอ้างอิง จำนวนครั้งการได้รับอ้างอิง
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์: จำนวนบทความของอาจารย์ประจำหลักสูตรปริญญาเอกที่ได้รับการอ้างอิงในฐานข้อมูล TCI และ SCOPUS ต่อจำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร ตัวอย่างการรายงาน ลำดับ ชื่อผลงาน ฐานข้อมูลที่ได้รับการอ้างอิง จำนวนครั้งการได้รับอ้างอิง 1 SCOPUS 4 2 TCI 27 รายงานรายละเอียดให้ครบตามรูปแบบการเขียนบรรณานุกรม นับผลงานที่มีการตีพิมพ์ตามปี พ.ศ. (5 ปีย้อนหลัง เช่น การรายงานในปีการศึกษา 2559 นับผลงานที่ตีพิมพ์ในปี พ.ศ และได้รับการอ้างอิง) รายงานผลงานเฉพาะอาจารย์ประจำหลักสูตร (ผลงานอาจารย์ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตรไม่นับ) ผลงานของนักศึกษาที่มีชื่ออาจารย์ร่วมตีพิมพ์สามารถนับได้ อัตราส่วนจำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร = จำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิง จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร

17 องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์: ผลที่เกิดขึ้นกับอาจารย์
- รายงานให้ครบ (การคงอยู่ ความพึงพอใจ) - หากมีข้อมูลให้รายงานแนวโน้ม (ข้อมูลอย่าง น้อย 3 ปี) - ตัวชี้วัดที่พบการรายงานไม่ตรง วัตถุประสงค์บ่อยๆ คือ ความพึงพอใจ “เจตนารมณ์ของเกณฑ์ต้องการให้มีการ รายงานความพึงพอใจของอาจารย์ต่อ กระบวนการในตัวบ่งชี้ 4.1: การบริหารและ พัฒนาอาจารย์ (ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ประจำ หลักสูตร ระบบการบริหารอาจารย์ ระบบการส่งเสริมและ พัฒนาอาจารย์)”

18 องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) เป็นไปตามเกณฑ์ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ 1. ... 2. ... - หลักสูตรที่มี มคอ.1ของสาขา ให้ใช้ KPI ที่ปรากฏใน มคอ.2 - หลักสูตรที่ใช้ มคอ.1 กลาง ใช้ KPI ใหม่ ตามที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ หลีกเลี่ยงการรายงาน “เป็นไปตามเกณฑ์ หรือ ” เพียงอย่างเดียว ควรรายงานข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อแสดงว่ามีการดำเนินงานเป็นไปตามเกณฑ์ด้วย


ดาวน์โหลด ppt สุภารัตน์ วังศรีคูณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google