ประวัติความเป็นมาของบ้านจำนัก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน : แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
ประวัติความเป็นมา แต่ก่อนชาวบ้านมะค่าอาศัยที่พิมาย ต่อมาเกิดศึกกวาดไพร่ขึ้น คือ ได้มี กษัตริย์ของลาว คือ เจ้าอนุวงศ์แห่งนครเวียงจันทร์ได้ยกกองทัพมาเพื่อกวาด.
นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
อาณาเขต ตั้งอยู่บนเนื้อที่ 15.5 ไร่ ทิศเหนือจรดคลอง บางเขน ทิศใต้จรดถนนงาม วงศ์วาน ทิศตะวันออกจรดคลอง เปรมประชากร ทิศตะวันตกจรดติดที่ดิน เอกชน.
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ตราด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นางสาวอุสิมา สิงห์โตทอง
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดน่าน
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ระยอง นายสมชัย ฉายศรีศิริ นายปรพล เจริญพงษ์ นายสมหมาย เอี่ยมมงคลสกุล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานเกษตรอำเภอบางแก้ว
โครงงานเว็บไซต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดอุทัยธานี
ประวัติบ้านเหล่าจั่น
ประวัติความเป็นมา บ้านสระแก้วก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ 2419 โดย พ่อใหญ่จารย์แก้ว เป็นผู้นำพาลูกหลานจากบ้านงัวบา ตำบลงัวบา อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.
โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่น ศูนย์ศิลปาชีพบ้านโคกก่อง ที่ตั้ง
โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่น บ้านปอแดง หมู่6 ต. ขามเฒ่าพัฒนา อ
ข้อมูลท้องถิ่นบ้านขิงแคง
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
กลุ่มออกแบบและก่อสร้าง สำนัก อำนวยการ สพฐ.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
โรงเรียนเทียมนคร วิทยา สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษานครราชสีมา เขต ๒.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
“คลายทุกข์ สุขใจ ใกล้ประชาชน”
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพร้าว
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
โครงการเพิ่มศักยภาพด้านการตลาดผลิตภัณฑ์ไหมนครชัยบุรินทร์ในกลุ่มอาเซียน
แนวคิดการใช้ข้อมูลสำมะโนประชากรและเคหะ
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
“มุ่งสู่ระบบธรรมาภิบาลในสหกรณ์”
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
ชื่อเล่น: นพ ตำแหน่ง: นายช่างโยธา หน่วยงาน: อบต.ทุ่งโป่ง
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมติดต่อ: คุณศศิญา , คุณพนิดา , คุณแสงเดือน
แหล่งท่องเที่ยวในอุทยานฯ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
ภูมิปัญญาผ้าหมักย้อมดินภูเขาไฟ :ผ้าภูอัคนี นางสมศรี เจ้าของภูมิปัญญา ปราชญ์ภูมิปัญญา การย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่นมะเกลือ แก่นขนุน ใบสาบเสือ.
อำเภอแก่งคอย จัดทำโดย 1. เด็กชายวีระชัย บัวขำ เลขที่ 1
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่น บ้านจำนัก หมู่ที่ 4 ตำบลหนองปลิง อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม

ประวัติความเป็นมาของบ้านจำนัก บ้านจำนักเดิมมีชื่อว่าบ้านสำนักไม่มีการจดบันทึกไว้ แต่มีการบอกเล่ารุ่นต่อรุ่นมาเรื่อยๆ เดิมบ้านจำนัก มี บุคคลมาตั้งถิ่นฐานสองกลุ่ม กลุ่มที่ 1 มาจากลุ่มแม่น้ำชี เพราะสมัยก่อนมีน้ำท่วมเลย อพยพมาเรื่อยๆและ กลุ่มที่ 2 ย้ายออกจากตำบลมิตรภาพเลยมารวมตัว ตั้งหมู่บ้านจำ นักขึ้นมา บ้านจำนักตั้งขึ้นประมาณ 2410

รายชื่อผู้ใหญ่บ้านจำนักอดีตถึงปัจจุบัน ดั้งนี้ 1.นายหมอลำบัว ไม่ทราบนามสกุล 2.นายมา อะเวลา 3.นายสน อะเวลา 4.นายท้าย อนุเวช 5.นายสวน ปางลีลาด 6.นายฝุ่น ตางจงลาด 7.นายทอง สาภัคดี (ดำรงตำแหน่งปัจจุบัน)

บ้านจำนัก หมู่ที่ 4 ตั้งอยู่ ตำบลหนองปลิง อำเภอเมือง สถานที่ตั้ง บ้านจำนัก หมู่ที่ 4 ตั้งอยู่ ตำบลหนองปลิง อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม อยู่ห่างจาก ตัวเมืองจังหวัดมหาสารคาม ประมาณ 11 กิโลเมตร พื้นที่ทำการเกษตร 2,734ไร่ พื้นที่อยู่อาศัย 87 ไร่ พื้นที่สาธารณะ 70 ไร่

อาณาเขต ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลแวงน่าง อำเภอเมือง จังหวัด มหาสารคาม ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลวังแสง อำเภอแกดำ จังหวัดมหาสารคาม ทิศใต้ ติดต่อกับตำบลบัวค้อ อำเภอเมือง จังหวัด มหาสารคาม ทิศตะวันตก ติดต่อกับตำบลโคกก่อและตำบลหนองโน อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม  

จำนวนครัวเรือนและจำนวนประชากร จำนวนประชากรรวม หญิง ชาย 230 910 411 469

การเมืองการปกครองบ้านจำนัก 1.นายทอง สาภัคดี ตำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน 2.นายเคน ตางจงลาด ตำแหน่งผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 3.นายวิทูล อะเวลา ตำแหน่งผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 4.นายฉลวย ภูสีลิส ตำแหน่ง องค์การบริหารส่วนตำบล 5.นางสุดารัตน์ อนุเวช ตำแหน่งองค์การบริหารส่วนตำบล 6.นายอิสระ ชัยเหมือน ตำแหน่งกรรมการหมู่บ้าน

7. นายมัย ตางจงลาด ตำแหน่งกรรมการหมู่บ้าน 8 7.นายมัย ตางจงลาด ตำแหน่งกรรมการหมู่บ้าน 8.นายชูศักดิ์ พันจัก ตำแหน่งกรรมการหมู่บ้าน 9.นายต่วย สาภักดี ตำแหน่งกรรมการหมู่บ้าน 10.นายอินทร์ศักดิ์ ซ้ายขวา ตำแหน่งกรรมการหมู่บ้าน 11.นาเสาร์ วังหอม ตำแหน่งกรรมการหมู่บ้าน 12.นายวิฑูล อะเวลา ตำแหน่งกรรมการหมู่บ้าน 13.นายเคน ตางจงลาด ตำแหน่งกรรมการหมู่บ้าน

การประกอบอาชีพ บ้านจำนัก ตำบลหนองปลิง อำเภอเมืองจังหวัด มหาสารคาม อาชีพหลัก 1.การทำการเกษตรกรรม 94 ครัวเรือน 2.รับราชการ 15 ครัวเรือน 3.เลี้ยงสัตว์ 50 ครัวเรือน 4.รับจ้างทั่วไป 30 ครัวเรือน

อาชีพเสริม 1. เลี้ยงไก่ – เลี้ยง เป็ด 94 ครัวเรือน 2 อาชีพเสริม 1.เลี้ยงไก่ – เลี้ยง เป็ด 94 ครัวเรือน 2.เลี้ยงโค 11 ครัวเรือน 3.ช่างตัดผม 1 ครัวเรือน 4.ช่างซ้อมยานพาหนะ 2 ครัวเรือน 5.กลุ่มหัตถกรรมไม่ไผ่ 1 กลุ่มสมาชิก 15 คน

ศาสนา ประเพณี ชาวบ้านจำนักต่างนับถือศาสนาพุทธ ประเพณี เด่นๆ ฮีตสิบสองครองสิบสี่ เช่น บุญเผวส บุญ มหาชาติ บุญตักบาตรเทโว บุญเข้าพรรษา บุญออก พรรษา เป็นต้น

ด้านศาสนา สถานที่สำคัญ มีวัด 2แห่ง คือ วัดสว่าง และ วัดป่าธรรมกาย

ด้านการศึกษา มีโรงเรียน 1แห่ง คือ โรงเรียนบ้านจำนัก โรงเรียนบ้านจำนัก หมู่ที่ 4 ตำบลหนองปลิง อำเภอเมือง จังหวัด มหาสารคาม

ด้านสาธารณูปโภค น้ำปะ ปา 1แห่ง สร้างเมื่อปี พ.ศ 2552 ด้านสาธารณูปโภค น้ำปะ ปา 1แห่ง สร้างเมื่อปี พ.ศ 2552 น้ำประปาประจำหมู่บ้าน

มีไฟฟ้าเมื่อปี พ.ศ 2527 ไฟฟ้า

เส้นทางคมนาคมสร้างเมื่อปี พ.ศ 2548 ถนนลาดยาง

มีโรงสีข้าว 6 โรง โรงสีข้าว

ปั้นน้ำมัน1แห่ง ปั้นน้ำมัน

มีหนองน้ำสาธารณะ3แห่ง หนองไฮ หนองไฮ หนองโรงเรียน

มีร้านซ้อมยานพาหนะ 2 ร้าน

ร้านค้าและร้านอาหาร 7 ร้าน

วิสาหกิจชุมชนหัตถกรรมไม้ไผ่บ้านจำนัก

ที่ตั้ง วิสาหกิจชุมชนบ้านจำนัก ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 33 หมู่ที่ 4 ตำบลหนองปลิง อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม โทรศัพท์ 086-2315984 โทรสาร E-mail addkess@hotmail.com บัญชีหมายเลข 046-2-56460-8

ประวัติความเป็นมา เริ่มแรกนายทองดี รักภักดี มองเห็นว่าในหมู่บ้าน ได้มีต้นไผ่อยู่เป็นจำนวนมากเลยคิดริเริ่มต่อยอด ความคิดว่าจะนำเอาไม้ไผ่มาทำประโยชน์ในด้านใดได้ บ้าง จึงคิดทำแคร่ไม้ไผ่ใช้ในครัวเรือนก่อน จึงมองเห็นผี มือเลยก่อตั้งกลุ่ม จัดทำเรื่องของเงินทุนสนับสนุนและ ขอใบรับรองในการจัดทำกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตถกรรม ไม้ไผ่ขึ้นมามี สมาชิกผู้มีอำนาจทำการแทนวิสาหกิจ ชุมชนอยู่16 คน

สมาชิกผู้มีอำนาจทำการแทนวิสาหกิจชุมชนอยู่16 คน 1.นายน้อย อนุเวช ประทานกลุ่ม 2.นายอาจ มูลสมบัติ รองประทานกลุ่ม 3.นายวิเชียร อุทัยแพน เลขานุการ 4.นายดี รักภักดี กรรมการ 5.นายจรัส สายทองคำ กรรมการ 6.นายสุพจน์ อนุเวช กรรมการ 7.นายชวน ชัยภัคดี กรรมการ

8.นายกันหา ชัยเหมือน กรรมการ 9.นายสมศักดิ์ อนุอัน กรรมการ 10.นายอนุวัฒน์ มูลสมบัติ กรรมการ 11.นายสวด วังหอม กรรมการ 12.นางสาวนาศรี ตั้งมั่นดี กรรมการ 13.นายพิสัย ชัยภักดี กรรมการ 14.นายทองปาน ตางจงลาด กรรมการ 15.นายทองจันทร์ มูลสมบัติ กรรมการ 16.นางสาว ปริญารัตน์ มูลสมบัติ กรรมการ  

วัสดุ และ อุปกรณ์ 1.เลื่อย 2.ตะปู 3.ค้อนตีตะปู 4.มีดโต้ 5.ตะลับเมตร 6.เครื่องผ่าไม้ไผ่ 7.สิ่ว

วัตถุดิบ ไม้ไผ่ไม้ ไม้ยูคาลิตัส

ขั้นตอนการทำ 1.เลื่อยไม้ไผ่ความยาว 1.75 เซนติเมตร

2.การเหลาส่วนที่เกินหรือเหลาให้เรียบ

3.ใช้ตัวเครื่องผ่าไม้ไผ่

4.การเหลาให้เรียบ

5.การใช้สิ่วเจาะให้เป็นรูสี่เหลี่ยม 7 รู

6. ตัดไม้ยูคาลิตัสยาว 75 ซม. เหลาปลายสองข้างให้พอดีกับรูที่เจาะไว้ 6. ตัดไม้ยูคาลิตัสยาว 75 ซม. เหลาปลายสองข้างให้พอดีกับรูที่เจาะไว้

7.นำไม้ยูคาลิตัสและไม้ไผ่มาขึ้นโครง

8.นำแผ่นไม้ไผ่มาตอกเข้ากับโครงสร้าง

9.หลังจากตีแผ่นไม้ไผ่

10.ใช้เลื่อยทำขาแคร่ให้ได้ขนาด 45 ซม. 10.ใช้เลื่อยทำขาแคร่ให้ได้ขนาด 45 ซม.

11.ใส่ขาแคร่แล้วตอกให้แน่น

เสร็จสมบูรณ์

นายน้อย อนุเวช ประทานกลุ่มวิสาหกิจชุมชน นายน้อย อนุเวช ประทานกลุ่มวิสาหกิจชุมชน

นักปราชญ์และหมอสูตร

ประวัตินักปราชญ์และหมอสูติ นายมัย ตางจงราช เกิดเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ 2483 อายุ 72 ปี จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จากการศึกษานอกระบบ ปัจจุบันอาศัยอยู่บ้านเลขที่ 110 หมู่ที่4 บ้านจำนัก ตำบล หนองปลิง อำเภอเมืองจังหวัดมหาสารคาม สมรสแล้ว มีบุตร 6 คน

ผลงานและความสำเร็จที่ผ่านมา 1.เป็นวิทยากรหมอยาสมุนไพร 2.ได้รับคัดเลือกเป็นผู้นำอาสาพัฒนาชุมชน 3.ได้รับคัดเลือกเป็นคลังปัญญาผู้สูงอายุตำบลหนอง ปลิง 4.สำเร็จการฝึกอบรมตำรวจอาสาประจำหมู่บ้าน 5.สำเร็จฝึกอบรมหลังสูตรลูกเสือชาวบ้าน 6.สำเร็จการอบรมเรื่องสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม 7.ได้รับคัดเลือกเป็นกรรมสภาตำบลผู้ทรงคุณวุฒิ 8.เป็นช่างสุขภัณฑ์ 9.เป็นช่างตัดผม

นายมัย ตางจงลาด ได้ศึกษายาสมุนไพรแผนโบราณ แขนงต่างๆ จากบิดาจนเชี่ยวชาญ และศึกษาเพิ่มเติมจาก หนังสือตำรายาสมุนไพร จึงได้รับคัดเลือกให้เป็นหมอยา ประจำหมู่บ้านและผลงานล่าสุดไปเป็นวิทยากรให้ ความรู้เกี่ยวกับยาสมุนไพรที่โรงแรมตักศิลาและยังเป็น หมอสูติประมาณ 19 ปี นายมัย ตางจงลาด ได้ศึกษา ถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษและยังศึกษาเพิ่มเติมจากตำรา หมอสูติ เพื่อประกอบพิธีกรรมทางความเชื่อและศาสนา ประจำหมู่บ้าน