การจัดการเรียนการสอน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
Advertisements

นายสำเริง นวลปาน ตำแหน่งประธานกรรมการ นายสุเทพ เทพบุรี ตำแหน่งกรรมการ
โรงเรียนภัทรญาณวิทยา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1. วิชาสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม ป.4
ศาสนพิธี และวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
การจัดทำโครงการเฉลิมพระเกียรติ
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
เศรษฐกิจพอเพียง.
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักสูตร
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
สถาบันการศึกษา.
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง (Project Citizen)
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
สรุปกรอบการพัฒนาหลักสูตรกิจกรรมลูกเสือ
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานวัฒนธรรม
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
เทคนิคการทำงานกับชาวบ้าน : ประสบการณ์การเรียนรู้ที่ควรแก่การแสวงหา
มาตรฐานวิชาชีพครู.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การจัดการศึกษาในชุมชน
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แนวทางการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
KM ประจำเดือนตุลาคม 2550 สวัสดีค่ะ...พบกับข้อมูลข่าวสาร KM ของกองการเจ้าหน้าที่ ได้ที่นี่กันเป็นประจำ นะคะ ... และสำหรับการต้อนรับปีงบประมาณใหม่ ปี 2551.
รู้และเข้าใจเรื่องของชีวิต
ชีวิตที่พอเพียงสู่ความสุขที่ยั่งยืน
ความคาดหวังของการส่งเสริมวินัยและจริยธรรมข้าราชการ กรมอนามัย
ทบทวน หน่วยที่ 1 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา 1
ถวายเป็นพุทธบูชา (ฉลองพุทธชยันตี ๒๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรู้ธรรม)
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
My school.
๔. ด้านการพัฒนาบุคลากร ของสถานศึกษา.
My school.
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
ครั้งที่ ๒.
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
หลักสูตรใหม่.... Knowledge กลุ่มความรู้ Knowledge Cluster 1. ภาษาและวัฒนธรรม Language and Culture 2. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและคณิตศาสตร์ Science, Technology,
สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
BEST PRATICES การจัดการเรียนรู้ระดับปฐมวัยที่ดี “ อนุบาลน้อย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
โครงการความร่วมมือของ บวร เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
ครูธีระพล เข่งวา 1 ครูผู้สอน …… นายธีระ พล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูธีระพล เข่งวา.
ความเป็นครู.
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
เศรษฐกิจพอเพียง โดย ด.ช.พีรดนย์ ศรีสอน.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เศรษฐกิจพอเพียง.
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
ปฏิญญาสากลว่าด้วยเรื่อง สิทธิมนุษยชน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการเรียนการสอน Home สาระการเรียนรู้ พระพุทธศาสนา สาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา M C U

สังคมแห่งการเรียนรู้ (Learning Society) “การศึกษาตลอดชีวิต” หมายความว่า การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต" (พ.ร.บ. การศึกษาฯ มาตรา 4)

วิสัยทัศน์กระทรวงศึกษาธิการ ให้คนไทยได้รับการพัฒนาและส่งเสริมให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี คนเก่ง รักการเรียนรู้ พึ่งตนเองได้ มีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืนเพื่อความมั่นคงของมนุษย์ และพร้อมก้าวทันโลก

เศรษฐกิจบนฐานความรู้ (Knowledge-based Economy) คือเศรษฐกิจที่ใช้ความรู้เป็นตัวขับเคลื่อนสำคัญ ในการพัฒนาอุตสาหกรรม

จตุสดมภ์ของการศึกษา (Four Pillars of Education) การศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพ (Learning to know) การศึกษาเพื่อพัฒนาสมรรถภาพ (Learning to do) การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพ (Learning to live together) การศึกษาเพื่อพัฒนาสุขภาพ (Learning to be)

พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติไทย “เมื่อคราวที่ข้าพเจ้ามีโอกาสไปเยือนสำนักวาติกัน เมื่อปี ค.ศ. 1960 สมเด็จพระสันตะปาปา จอห์น ที่ 23 ตรัสถามถึงคนไทยว่า นับถือศาสนามากน้อยเพียงใด ข้าพเจ้าได้ทูลตอบว่า คนไทยเป็นศาสนิกชนที่ดีทั่วกัน ส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนา อันเป็นศาสนาประจำชาติ” พระราชดำรัส 10 พ.ค. 2527

รัฐธรรมนูญ มาตรา ๘ องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้ มาตรา ๙ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะและทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก

“มาตรา ๒๗ ให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ การดำรงชีวิต และการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อ ให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่จัดทำสาระของหลักสูตรตามวัตถุประสงค์ในวรรคที่หนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ”

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ 27 มกราคม 2546 เรื่อง การกำหนดรายละเอียดสาระการเรียนรู้แกนกลาง ให้สถานศึกษานำรายละเอียดสาระการเรียนรู้แกนกลาง เป็นแนวในการเทียบเคียงตรวจสอบ หรือปรับใช้ เป็นสาระการเรียนรู้รายปี หรือรายภาค ของหลักสูตรสถานศึกษาในสัดส่วนประมาณร้อยละ 70 ... และให้สถานศึกษากำหนดรายละเอียดสาระการเรียนรู้ประมาณร้อยละ 30 ในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ...”

“การจัดการเรียนรู้ในสาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ในส่วนที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนานั้น สถานศึกษาควรจัดให้ผู้เรียนที่นับถือศาสนาพุทธได้เรียนรู้ ประมาณ ๒ ชั่วโมง หรือ ๒ คาบต่อสัปดาห์”

พระเทพโสภณ ประธาน มีอนุกรรมการ ๔ คณะ คณะกรรมการจัดทำรายละเอียดสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนาในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พระเทพโสภณ ประธาน มีอนุกรรมการ ๔ คณะ คณะ ๑ จัดทำรายละเอียดสาระการเรียนรู้ คณะ ๒ ออกแบบกิจกรรม สื่อและกระบวนการเรียนรู้ คณะ ๓ จัดทำคู่มือสาระการเรียนรู้ คณะ ๔ จัดอบรมครูสอนพระพุทธศาสนา

มาตรฐาน ส ๑.๑ เข้าใจประวัติ ความสำคัญ หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ และสามารถนำหลักธรรมของศาสนามาเป็นหลักปฏิบัติในการอยู่ร่วมกัน

มาตรฐาน ส ๑.๒ :ยึดมั่นในศีลธรรม การกระทำความดี มีค่านิยมที่ดีงาม และศรัทธาในพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ

มาตรฐาน ส ๑.๓ : ประพฤติ ปฏิบัติตนตามหลักธรรม และศาสนพิธีของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ค่านิยมที่ดีงาม และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาตน บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม สิ่งแวดล้อม เพื่อการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข

มาตรฐานสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ส ๑.๑ ผู้เรียนมีความรู้ทางพระพุทธ-ศาสนา (Knowledge) “อธิปัญญาสิกขา” ส ๑.๒ ผู้เรียนมีค่านิยมและศรัทธาในพระพุทธศาสนา (Attitude) “อธิจิตสิกขา” ส ๑.๓ ผู้เรียนประพฤติตามหลักธรรม และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน (Process) “อธิสีลสิกขา”

สาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ๗ หัวข้อ สาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ๗ หัวข้อ หลักธรรม พุทธศาสนสุภาษิต พระไตรปิฎก -เรื่องน่ารู้ ศัพท์ทางพระพุทธศาสนา ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา พุทธประวัติ หน้าที่-มรรยาทชาวพุทธ การปฏิบัติตนต่อพระภิกษุ ชาวพุทธตัวอย่าง พุทธสาวก-สาวิกา ชาดก การบริหารจิต และเจริญปัญญา วันสำคัญ ศาสนพิธี สัมมนาพระพุทธศาสนา

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา รัตนตรัย พระสงฆ์ พระธรรม

ความสำคัญของพระพุทธศาสนา วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา สาระการเรียนรู้ เรื่อง พระพุทธ พุทธประวัติ ชาดก พระพุทธ ความสำคัญของพระพุทธศาสนา วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

รายละเอียดสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ระดับชั้นมัธยมศึกษา หัวข้อพุทธประวัติ ชั้น ม.๑ ถึง ๓ สรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติ ประสูติ เทวทูต ๔ การแสวงหาความรู้ การบำเพ็ญทุกรกิริยา การผจญมาร การตรัสรู้ การสั่งสอน ปฐมเทศนา โอวาทปาฏิโมกข์ ศึกษาพุทธประวัติจากพระพุทธรูปปางต่าง ๆ ปางมารวิชัย ปางปฐมเทศนา

คำอธิบายสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปี ๒ ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ สร้างความคิดรวบยอด นำภูมิปัญญาท้องถิ่น สภาพปัญหาชีวิต สภาพแวดล้อมเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนัก และเห็นคุณค่าในเรื่องต่อไปนี้ พุทธประวัติ สรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติเรื่องการผจญมาร การตรัสรู้ การสั่งสอน

พระ ประ ธาน ปาง มาร วิชัย วัด มหา ธาตุ กรุง เทพ

ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ เรื่อง “พระธรรม” พระไตรปิฎก เรื่องน่ารู้ จากพระไตรปิฎก พุทธศาสนสุภาษิต พระธรรม หลักธรรม ศัพท์ทาง พระพุทธศาสนา การบริหารจิต และเจริญปัญญา

กรอบความคิดหลักธรรมระดับประถมศึกษา พระ พุทธ หลักธรรม พระ รัตนตรัย พระ ธรรม โอวาท ๓ พระ สงฆ์ ไม่ทำชั่ว ทำความดี ทำจิตให้บริสุทธิ์

กรอบความคิดหลักธรรมระดับมัธยมศึกษา พระ พุทธ หลักธรรม อริยสัจ ๔ พระ รัตนตรัย พระ ธรรม ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) พระ สงฆ์ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)

“อนุราธะ อดีตก็ดี ปัจจุบันก็ดี เราสอนเรื่องทุกข์ กับความดับทุกข์เท่านั้น”

สาระการเรียนรู้ เรื่อง “พระสงฆ์” ประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกา หน้าที่ชาวพุทธ พระสงฆ์ มรรยาทชาวพุทธ และการปฏิบัติตน ต่อพระภิกษุ สัมมนา พระพุทธศาสนา ชาวพุทธตัวอย่าง ศาสนพิธี

การสอน ๒ แบบ ธรรมาธิษฐาน บุคลาธิษฐาน สอนธรรมะล้วน ๆ การสอน ๒ แบบ ธรรมาธิษฐาน สอนธรรมะล้วน ๆ บุคลาธิษฐาน สอนธรรมะด้วยตัวอย่าง เช่น ชาดก ๕๔๗ เรื่อง

การสอนพระพุทธศาสนาที่ดีต้องมี ๔ ส. สันทัสสนา = แจ่มแจ้ง สมาทปนา = จูงใจ สมุตเตชนา = แกล้วกล้า สัมปหังสนา = ร่าเริง

บทบาทของครู สอนให้รู้ (ปัญญา) ทำให้ดู (สัจจะ) อยู่ให้เห็น (จาคะ) สอนให้รู้ (ปัญญา) ทำให้ดู (สัจจะ) อยู่ให้เห็น (จาคะ) เย็นให้สัมผัส (สันติ)