ซอฟต์แวร์ที่น่าสนใจ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูป
Advertisements

ใบความรู้ 3 ระบบคอมพิวเตอร์.
ปฏิบัติการที่ 4 การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ
การใช้งานเมนูคำสั่งของ Microsoft Excel 2003
คอมพิวเตอร์.
Microsoft Word 2002 พุธทอง กาบบัวลอย.
การประยุกต์ใช้โปรแกรม MS-Excel
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
โดย ศศิธร อารยะพูนพงศ์ สำนักคอมพิวเตอร์
MS Excel Excel เป็นโปรแกรมประเภท สเปรยชีต (Speadsheet) หรือโปรแกรมตาราง งาน ซึ่งจะเก็บข้อมูลต่าง ๆ ลงบน แผ่นตารางงาน คล้ายกับการเขียน ข้อมูลลงไปในสมุดที่มีการตีช่องตาราง.
Google Maps.
Microsoft Excel 2007.
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต รหัสวิชา
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
Project Management.
By Mr.Piched Tanawattana ส่วนประกอบของ Excel แถบชื่อเรื่อง Title bar ปุ่มควบคุม Control Button เวิร์กชีต Worksheet แถบสถานะ Status bar แถบเมนู Menu.
Microsoft Word XP โดย พิสมัย น้ำจันทร์.
ระบบอัตโนมัติและการพิมพ์
การสร้างตาราง Click mouse ที่ปุ่ม จะปรากฏช่องสี่เหลี่ยมแสดง
ตัวอย่างขั้นตอนในการสืบค้นข้อมูล
การใช้งาน Microsoft Excel
การสร้างตาราง (Table)
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ภาควิชา เทคโนโลยีการศึกษา
รายงาน เรื่อง -ส่วนประกอบที่สำคัญของ microsoft excel -การพิมพ์ข้อมูลและการสร้างสูตรเบื้องต้น จัดทำโดย.
โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
รายงาน เรื่อง ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน
Microsoft Excel เป็นโปรแกรมประเภท สเปรดชีต (spreadsheet) หรือตารางคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้เก็บบันทึกข้อมูลในลักษณะต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่มักเก็บข้อมูลประเภทการคำนวณ.
รายงาน เรื่อง พื้นฐาน Microsoft Excel จัดทำโดย
พื้นฐานของ Microsoft Office Excel โดย
เรื่อง การนำเสนอข้อมูลด้วยกราฟ
รายงาน เรื่อง การป้อนข้อมูลและแก้ไขข้อมูล โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
ข้อมูลที่ป้อนลงกระดาษทำการไปแล้ว สามารถแทรกเพิ่มเติมได้โดยใช้หลักการแทรกแถว ดังนี้ Click เมาส์ ณ ตัวเลขแถวที่ต้องการแทรก เลือกคำสั่ง Insert, Rows หรือคลิกขวาแล้วเลือก.
โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
รายงาน เรื่อง จัดรูปแบบข้อมูล จัดทำโดย ด. ญ. ธิกานดา วัลยาภรณ์ ชั้นม.2/1 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ ภานุมาศ ชาติมองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต.
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
วาดภาพสวยด้วย Paint.
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
CHAPTER 6 Macromedia Dreamweaver MX 8.
หน่วยนำเข้าข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
เรื่องการออกแบบฐานข้อมูล
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Power Point
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Excel ชุดที่ 3 การสร้างกราฟ
ระบบปฏิบัติการ ( Operating System : OS )
การตั้งค่า Mouse จัดทำโดย นายนรินทร์ เรือนคำ เลขที่ 13
การตั้งค่า Mouse.
เรื่องการย่อ ขยาย Row, Column อัตโนมัติ จัดทำโดย ด. ช. ปริญญาเอกสาธิต เสนอ อ. ภานุมาศ ชาติ ทองแดง.
นางสาวพรรณาวดี ชาติทอง
รหัสวิชา บทที่ 4 การจัดรูปแบบเอกสาร.
1 ซอฟท์แวร์ที่ น่าสนใจ จัดทำโดย นางสาวรัชดา ณรงค์ ns B06.
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร
ภาพนี้ชื่อว่าอะไร ? ก. แถบเมนูบาร์
อ.วชิระ หล่อประดิษฐ์ ระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์
นางสาววิรากร ใจเอื้อย ตอนที่ 6 นางสาววิรากร ใจ เอื้อย.
และการทำงานกับตัวอักษร
การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์สำนักงาน 2
บทที่ 2 การเข้าสู่โปรแกรม Microsoft Office Word 2003
การจัดรูปแบบเอกสาร Microsoft Word 2007.
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
การสร้างตารางใน เอกสาร Microsoft Word สิ่งที่ต้องเรียนในคาบนี้  เริ่มต้นสร้างตาราง  การจัดการกับแถวและคอลัมน์  การผสานช่องตารางและการจัดแนวข้อความ.
การพิมพ์ตารางออกทางเครื่องพิมพ์
การสร้างตารางคำนวณด้วย
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับโปรแกรม
การสร้างตารางในเอกสาร
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ซอฟต์แวร์ที่น่าสนใจ

คณะวิทยาศาสตร์ เอกเคมี โดย นางสาวจรรยา สาลี รหัสนิสิต 50102010210 คณะวิทยาศาสตร์ เอกเคมี

MICROSOFT EXCEL แนะนำ MICROSOFT EXCEL โปรแกรมสำหรับงานคำนวณประเภทสเปรดชีด (Spreadsheet) หรือกระดาษทดอิเล็กทรอนิกส์ในปัจจุบัน คงจะไม่มีโปรแกรมใด มีความสามารถโดดเด่นเทียบเท่า โปรแกรมในตระกูลบริษัทไมโครซอฟต์ (Microsoft Co.,Ltd.) ที่ใช้ชื่อทางการค้าว่า "Microsoft Excel" ซึ่งปัจจุบันได้พัฒนามาเป็นรุ่น (Version) 2003 ที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในชื่อโปรแกรม "Microsoft Excel 2003"

โปรแกรมลักษณะกระดาษทดอิเล็กทรอนิกส์ เป็นโปรแกรมที่ช่วยในด้านการคำนวณ โดยอาศัยตารางการคำนวณในลักษณะที่เป็นช่องๆ ที่เรียกว่า "เซลล์ - Cell" คล้ายๆ กับการคำนวณผ่านกระดาษทำการ 6 ช่อง 8 ช่อง นอกจากนี้ ยังสามารถนำ Excel มาประยุกต์ใช้กับงานอื่นๆ ได้ เช่น การวิเคราะห์ต้นทุน งานฐานข้อมูล หรืองานโปรแกรมมิ่งเกี่ยวกับตัวเลข เป็นต้น

ความสามารถของโปรแกรม เหมาะกับงานคำนวณประเภทต่างๆ เช่น เลขทั่วๆไป,ค่าทางสถิติ, เลขตรีโกณฯ,ค่าทางการเงิน,คำนวณเกี่ยวกับวันที่ ระบบคำสั่งเป็นมาตรฐานเดียวกับโปรแกรมอื่นในตระกูลเดียวกัน ทำให้สามารถเรียนรู้โปรแกรมอื่นๆ ได้โดยอ้างอิงกับโปรแกรม Microsoft Excel ชุดนี้ หรือผู้ใช้ที่ศึกษาโปรแกรมอื่นมาแล้ว ก็สามารถใช้งานโปรแกรม Microsoft Excel ได้สะดวก ระบบคำสั่งมีหลากหลายให้เลือกใช้งาน ทั้งแบบเมนูคำสั่ง, ปุ่มลัด, ไอคอนในแถบเครื่องมือ (Toolbars), เมนูจากการ Click เมาส์ขวา การ Click ขวา จะเรียกเมนูคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับลักษณะงานให้โดยอัตโนมัติ

ระบบเมนูคำสั่งมีให้เลือกทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ จัดการกับข้อมูลภาษาไทยได้ถูกต้องการหลักพจนานุกรมไทยสามารถเติมข้อมูลลำดับ ได้โดยอัตโนมัติ (Auto Fill) ช่วยสร้างสูตรคำนวณได้ง่าย และรวดเร็วดั่งเนรมิต ด้วยความสามารถ Function Wizard ทำให้ไม่ต้องเสียเวลาจดจำ รูปแบบการใช้สูตรคำนวณแบบต่าง ๆ สร้างกราฟ และแก้ไข-ปรับปรุงได้อย่างรวดเร็ว ด้วย Chart Wizard ทำให้สามารถเนรมิตกราฟได้หลากหลายรูปแบบ เช่น กราฟเส้น, กราฟแท่ง, กราฟวงกลม, กราฟพื้นที่ ทั้งในลักษณะภาพ 2 มิติ และภาพ 3 มิติ

จัดการข้อมูลสำหรับงานฐานข้อมูลได้ อย่างยอดเยี่ยม ด้วยความสามารถที่ เกือบเทียบเท่าโปรแกรมจัดการ ฐานข้อมูลเฉพาะงาน เช่น เรียงข้อมูล, ค้นหาข้อมูล, ทำรายงานสรุปผลแบบ ต่างๆ

ลักษณะจอภาพการทำงาน

พื้นที่ทำงาน (Sheet) พื้นที่ทำงานของ Microsoft Excel เรียกว่า Worksheet หรือ Sheet โดยใน 1 Sheet จะประกอบด้วยบรรทัดในแนวตั้งและบรรทัดในแนวนอน ซึ่งมีการเรียกชื่อเฉพาะ ดังนี้ บรรทัดในแนวตั้ง เรียกว่า คอลัมน์ (Column) มี 256 คอลัมน์ บรรทัดในแนวนอน เรียกว่า แถว (Row) มี 65,536 แถว

เซลล์ (Cell) การทำงานใน Microsoft Excel จะกระทำ ณ จุดตัดกันของแถวและคอลัมน์ โดยข้อมูล 1 รายการ หรือข้อมูล 1 ข้อมูล จะพิมพ์ ณ ตำแหน่งที่เป็นจุดตัดกันนี้เสมอ และเรียกจุดตัดกันของแถว และคอลัมน์ในชีตว่า "เซลล์ (Cell)" การใช้งานเซลล์ในซีต จะอาศัยชื่อเรียกที่เกิดจากการผสมกันของชื่อเรียกคอลัมน์ ตามด้วยชื่อเรียกแถว โดยชื่อเรียกคอลัมน์ จะเป็นด้วยตัวอักษร A - Z, AA - AZ, BA - BZ, CA - CZ, ... , IA - IV ในขณะที่ชื่อเรียกแถวจะเป็นตัวเลข ดังนั้นชื่อเรียกเซลล์ จะอยู่ในลักษณะของ ชื่อเซลล์ = <ชื่อคอลัมน์><ตัวเลขแถว>

ตัวอย่างการเรียกเซลล์ ทำงานกับเซลล์ในแถวที่ 10 คอลัมน์ J เรียกว่า J10 ทำงานกับเซลล์ในแถวที่ 250 คอลัมน์ CZ เรียกว่า CZ250

โดยปรากฏหน้าต่างถามตำแหน่ง ดังนี้

การกำหนดช่วงข้อมูล (RANGE) การกำหนดช่วงข้อมูล หมายถึง การเลือกข้อมูลหลาย ๆ เซลล์ที่สนใจ เพื่อทำงานใดงานหนึ่งพร้อม ๆ กัน เช่น เลือกข้อมูลในเซลล์ A2 ถึงเซลล์ C5 เพื่อลบทิ้งในครั้งเดียว

กรณีที่ใช้เมาส์ Mouse Pointer ชี้ ณ ตำแหน่งเซลล์เริ่มต้น กดปุ่มซ้ายของเมาส์ค้างไว้ แล้วลากเมาส์ จะปรากฎแถบสีดำคลุมข้อมูล ได้ขนาดที่ต้องการให้ปล่อยเมาส์ กรณีใช้แป้นพิมพ์ 1. Cell Pointer อยู่ในเซลล์เริ่มต้น 2. กดปุ่ม ค้างไว้ แล้วกดปุ่มลูกศร ตามทิศทางที่ต้องการ จะปรากฎแถบสีดำคลุมข้อมูล 3.ได้ขนาดที่ต้องการให้ปล่อยปุ่มบนแป้นพิมพ์

การกำหนดช่วงข้อมูลทั้ง Sheet ใช้เมาส์ Click ที่ Selection Button ของ Sheet

การกำหนดช่วงข้อมูลทั้งแถว ใช้เมาส์ Click (หรือ Drag) ที่ตัวเลขกำกับแถว

หรือ นำเมาส์ไปคลิกในแถวที่ต้องการเลือก กดปุ่ม <Shift><Spacebar>

การกำหนดช่วงข้อมูลทั้งคอลัมน์ ใช้เมาส์ Click (หรือ Drag) ที่ตัวอักษรกำกับคอลัมน์

หรือ นำเมาส์คลิกในเซลล์ใดๆ ของคอลัมน์ที่ต้องการเลือก กดปุ่ม <Ctrl><Spacebar>

ประโยชน์ของซอฟต์แวร์ 1.สามารถจัดทำลิงค์ไปยังเว็บไซต์ที่สามารถดาวน์โหลดหรือให้คำแนะนำการเลือกซื้อซอฟต์แวร์ได 2.นำเสนอผลงานที่ได้สร้างจากซอฟต์แวร์นั้นหรือนำเสนอภาพประกอบที่เกี่ยวข้องอื่น ๆอิสระตามรูปแบบที่เราทำการออกแบบไว้ได้

ประเภทของซอฟต์แวร์ เป็นซอฟต์แวร์ประเภท Freeware โดยที่เรา Download ไปแล้วไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใด ๆทั้งสิ้น เพราะมี Microsoft รับประกันคุณภาพ

Link http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/phisamai_s/excel/sec01p011.html