Data analysis for the making a decision with Business Intelligence

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
Advertisements

ระบบสารสนเทศ.
Data Warehouse (คลังข้อมูล)
คุณค่าของอินเตอร์เน็ต
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดเก็บฐานข้อมูลข้อสอบ
ระบบการบริหารการตลาด
ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
ประเภทของระบบสารสนเทศ
เรื่อง ประเภทของสาระสนเทศ 3.ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS)
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และสาเหตุที่ทำให้ผลิตภัณฑ์ใหม่ล้มเหลว
Chapter 1 : Business Intelligence เบื้องต้น
สุนีย์ พงษ์พินิจภิญโญ
รายวิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
Historical data analysis
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System :MIS)
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
ด้วยเทคนิค Data mining
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
ขับเคลื่อนนวัตกรรม ด้วยการเข้าใจตลาดและผู้ใช้
การศึกษาเปรียบเทียบระบบการแจ้งซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาปี 2553 A Comparative.
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
การจัดการสารสนเทศและ ระบบสารสนเทศ
Computer Application in Customer Relationship Management
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
Information Technology
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
8. ระบบผู้เชี่ยวชาญ.
บทที่ 3 Planning.
โครงสร้างขององค์กร (Organization Structure)
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
บทที่ 3 การผลิตและการวางแผนฟาร์ม
ฐานข้อมูล Data Base.
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
การจัดการฐานข้อมูล.
ระบบสารสนเทศ เพื่อการสื่อสาร
ตำแหน่ง : ผู้จัดการฝ่ายข้อมูล (ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย)
Information Technology : IT
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
โรงเรียนเทคโนโลยีภูเขียว
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
Data Mining การทำเหมืองข้อมูล
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
การออกแบบการวิจัย.
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
การวัดการวิจัยในการตลาด
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
การวิจัยการสื่อสารการตลาด (AMC2202)
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
Business Intelligence (BI) ธุรกิจอัจฉริยะ
บทที่ 6 การวิจัยเชิงสืบเสาะ : ข้อมูลทุติยภูมิ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Data analysis for the making a decision with Business Intelligence

อาจารย์ปรีชา น้อยอำคา จัดทำโดย นายสันติ อาริยทรัพย์ 49011211687 นายเทอดพงษ์ ผลจันทร์ 49011211718 ที่ปรึกษา อาจารย์ปรีชา น้อยอำคา สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

4. เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในหลายมิติ (OLAP) หัวข้อที่จะนำเสนอ 1. Business Intelligence คืออะไร 2. องค์ประกอบของ Business Intelligence 3. Data Warehouse 4. เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในหลายมิติ (OLAP)

การใช้ข้อมูลที่สำคัญอย่างหนึ่งสำหรับการดำเนินธุรกิจในทุกวันนี้ คือ การเรียกใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ โดยจำเป็นต้องทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ดังนั้นจึงได้มีระบบฐานข้อมูลดาต้าแวร์เฮาส์ ที่ออกแบบมาเพื่อจัดการกับข้อมูลและจัดสรรข้อมูลให้เกิดข้อมูลที่รองรับสำหรับการวิเคราะห์และการตัดสินใจ

1. Business Intelligence คืออะไร ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า 1. Business Intelligence คืออะไร Business Intelligence  คือ ซอฟต์แวร์ (Software) ที่นำข้อมูลที่มีอยู่เพื่อจัดทำรายงานในรูปแบบต่างๆ ที่เหมาะสมกับมุมมองในการวิเคราะห์  และตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน  และใช้สำหรับวิเคราะห์ข้อมูล  ของงานในมุมมองต่างๆ   ตามแต่ละแผนก  เช่น วิเคราะห์การดำเนินงานของบริษัทฯ เพื่อการตัดสินใจด้านการลงทุนสำหรับผู้บริหาร วิเคราะห์และวางแผนการขาย / การตลาด เพื่อประเมินช่องทางการจำหน่าย ฯลฯ วิเคราะห์สินค้าที่ทำกำไร สูงสุด / ขาดทุนต่ำสุด เพื่อการวางแผนงานด้านการตลาด และการผลิต วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อยอดขายของสินค้า ฯลฯ วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับคู่แข่งขัน ฯลฯ

1. ดาต้าแวร์เฮ้าส์ (Data Warehouse) ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า(ต่อ) 2. องค์ประกอบของ Business Intelligence 1. ดาต้าแวร์เฮ้าส์ (Data Warehouse) 2. ดาต้ามาร์ท(Data Mart) 3. การทำเหมืองข้อมูล(Data Mining) 4. เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในหลายมิติ (OLAP) 5. ระบบสืบค้นและออกรายงานต่าง ๆ

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า(ต่อ) 3. Data Warehouse ความหมายของคลังข้อมูล ระบบคลังข้อมูล หรือ Data Ware-house คือ ระบบการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลที่กระจัดกระจายมาไว้ที่เดียวกันสามารถเก็บข้อมูลย้อนหลังได้หลายๆ ปี เพื่อใช้เป็นข้อมูลช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ หรือใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ที่ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า(ต่อ) สถาปัตยกรรมของคลังข้อมูล Data Acquisition System Data Staging Area Data Warehouse Database Data Provisioning Data Metadata Repository Metadata Terminal ภาพประกอบที่ 1 สถาปัตยกรรมของคลังข้อมูล

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า(ต่อ) การดึง& เปลี่ยนแปลงข้อมูล ดาต้า แวร์เฮาส์ ไดเรกทอรี ของสารสนเทศ การเข้าถึง ข้อมูลและ การวิเคราะห์ ข้อมูลปฏิบัติการ ข้อมูลในอดีต ข้อมูลภายนอก แหล่งข้อมูล ภายใน ภายนอก - การถามและการรายงาน - OLAP - ดาต้าไมน์นิ่ง ภาพประกอบที่ 2 ส่วนประกอบของดาต้าแวร์เฮาส์

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า(ต่อ) ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ภาคใต้ ปี 2543 ปี 2544 ปี 2545 ปี 2546 สินค้า 1 สินค้า 2 สินค้า 3 สินค้า 4 ภาพประกอบที่ 3 ลักษณะหลายมิติของดาต้าแวร์เฮาส์

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า(ต่อ) 4. เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในหลายมิติ (OLAP) OLAP ย่อมากจาก Online Analytical Processing เทคโนโลยีที่ใช้ข้อมูลจากคลังข้อมูลเพื่อนำไปใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจทางธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ แก้ปัญหาที่มีความซับซ้อนโดยใช้ระยะเวลาสั้น ระบบทำงานได้รวดเร็ว สามารถค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่มาคำนวณได้อย่างครบถ้วนไม่ตกหล่น

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า(ต่อ) ภาพประกอบที่ 4 การประมวลผลเชิงวิเคราะห์ออนไลน์

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า(ต่อ) ประโยชน์ของ OLAP ช่วยในการวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลในมุมต่าง ๆ ทำให้การตัดสินใจมีประสิทธิภาพมากขึ้น ผู้ใช้แต่ละคนสามารถสร้างมุมมองข้อมูลของตนเองได้ เพื่อนำไปใช้ในงานเฉพาะด้าน มีความรวดเร็วในการสอบถามข้อมูล แม้ในฐานข้อมูลขนาดใหญ่และมีความซับซ้อนมาก ทำให้ได้รับข้อมูลมุมมองใหม่ ๆ สำหรับประกอบการตัดสินใจ

สรุปผลการศึกษาค้นคว้า ภาพประกอบที่ 5 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า

จบการนำเสนอ