ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ กรมอุตุนิยมวิทยา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กิจกรรมที่ 9 ระดับสารสนเทศ จุดประสงค์ อธิบายและจำแนกระดับสารสนเทศ.
Advertisements

องค์ประกอบของสำนักงานสมัยใหม่
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
Chapter 1 Introduction to Information Technology
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
การจัดทำรายงานประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ระบบส่งเสริมการเกษตร
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
คำถาม กระทรวงใหม่ที่ดูแลทางด้าน IT ชื่อกระทรวงอะไร?
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์กลางภาครัฐ
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุป ศูนย์สารสนเทศ แผนงาน/โครงการ
กิจกรรมและ แผนงานที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2553 ศูนย์สารสนเทศ นายสุนทร รัตนจำรูญ ผู้อำนวยการศูนย์สารสนเทศ.
สรุปผลการดำเนินงาน ศูนย์ สารสนเทศ ปีงบประมาณ 2554.
ผลการ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด : ความเป็นไปได้ในการจัดการ สารสนเทศ
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การบริหารจัดการน้ำและแก้ไขปัญหาอุทกภัยของประเทศ
งานวิชาการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แผนปฏิบัติการ ประจำปี 2547
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การบริหารสำนักงานยุคใหม่
การพัฒนา PMQA หมวด 4 นางแววตา เรืองนภา ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร วันที่ 1 กรกฎาคม 2553.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ความก้าวหน้าเทคโนโลยีของไทย
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
การปฐมนิเทศข้าราชการกรมประชาสัมพันธ์
เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
ระบบส่งเสริมการเกษตร
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
เส้นทางสู่ “ ข้อมูลแข็งแรง ” ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก กรมอนามัย งานสารสนเทศ ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
ผลงานวิชาการที่นำเสนอ
ยุทธนา บัวเสน อมร แก้วมรกต
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
แผนการดำเนินงาน 2558 กองบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ICTs จะช่วยอำนวยความสะดวกในการพัฒนาประเทศใน 3 ลักษณะ
ชุมชนเข้มแข็ง ด้านการ เตรียมพร้อมป้องกันภัยธรรมชาติ
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
ภัยจากเจ้าหน้าที่หรือบุคลากรของหน่วยงาน
สรุปงานที่ ต้องทำต่อ ศูนย์เทคโนโลยีและการสื่อสาร กองแผนงาน กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริม การเกษตร.
บทบาทของคอมพิวเตอร์.
สำนักงานแรงงานจังหวัดยะลา
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปัจจุบัน และทิศทางการพัฒนา
ระบบคอมพิวเตอร์ และ การสื่อสาร กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
แผนภูมิองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
สรุปภารกิจของฝ่ายสารสนเทศ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผศ. ดร. พีรพงษ์ บุญสวัสดิ์กุลชัย.
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ กรมอุตุนิยมวิทยา

พันธกิจ วิเคราะห์ความต้องการ วางแผนการจัดหา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ วิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนาระบบงานและฐานข้อมูล เพื่อการแลกเปลี่ยนและให้บริการสารสนเทศอุตุนิยมวิทยาและระบบบริหาร สนับสนุนและให้คำแนะนำในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในกิจกรรมต่าง ๆ

โครงสร้างองค์กร

บุคลากร ผู้อำนวยการศูนย์ 1 ตำแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 11 ตำแหน่ง ผู้อำนวยการศูนย์ 1 ตำแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 11 ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่เครื่องคอมพิวเตอร์ 3 ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล 7 ตำแหน่ง รวม 22 ตำแหน่ง

ระบบเครือข่าย กรมอุตุนิยมวิทยา

ระบบสารสนเทศ วัตถุประสงค์ เพื่อลดภัยพิบัติและเพิ่มความปลอดภัยแก่สาธารณะ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ทางอุตุนิยมวิทยาและการบริการประชาชน เพื่อเชื่อมโยงและใช้ประโยชน์ข้อมูลอุตุนิยมวิทยาร่วมกับหน่วยงานอื่น เพื่อใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในระบบบริหารจัดการองค์กร

ระบบสารสนเทศ (ในความดูแลของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ) CDMS (Climatology Data Management System) Website กรมอุตุนิยมวิทยา NWP (Numerical Weather Prediction) ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ

CDMS : Climatology Data Management System System Function e-Observation บันทึกผลการตรวจอากาศจากสถานี e-Service ให้บริการสารสนเทศด้านภูมิอากาศ ระบบสารสนเทศข้อมูลภาพเรดาห์และดาวเทียม ระบบสนับสนุนการดำเนินงานของจังหวัดและองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ระบบสนับสนุนการพยากรณ์

CDMS : Climatology Data Management System

CDMS : Climatology Data Management System ระบบคอมพิวเตอร์ และเครือข่าย HP DL380 (CPU Xeon 3.4 GHz RAM 2 GHz) Database (SQL Server 2000) สถานีต่างจังหวัดเชื่อมโยงระบบผ่าน TOT IP Network (1299) สถิติข้อมูล สถานีตรวจอากาศ 115 สถานี สถานีฝน 1,200 สถานี ข้อมูล 1951 – ปัจจุบัน (ปีที่เริ่มมีข้อมูล)

Website กรมอุตุนิยมวิทยา www.tmd.go.th www.weather.go.th

NWP (Numerical Weather Prediction) System Function Numerical Weather Prediction (Unified Model from UKMO) Input Global Telecommunication System (GTS),Sattelite Process Global Model สำหรับพยากรณ์อากาศทั่วโลก Southeast Model สำหรับพยากรณ์อากาศบริเวณเอเชีย อาคเนย์ Thailand Model สำหรับพยากรณ์อากาศบริเวณประเทศไทย Bangkok Model สำหรับพยากรณ์อากาศบริเวณกรุงเทพมหานคร Output Horace GUI for Meteorologist

NWP (Numerical Weather Prediction) ระบบคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง (Super Computer) - 32 Thin Node (CPU Power2SC 120 MHz RAM 128 MB) สำหรับประมวลผลแบบจำลอง - 6 Wide Node (CPU Power2SC 135 MHz RAM 512 MB) สำหรับการควบคุมอุปกรณ์เครือข่าย การควบคุมอุปกรณ์สำรองและจัดเก็บข้อมูล ระบบจัดเก็บข้อมูล - IBM SSA 7133 Model 020 Disk Subsystem ความจุ 582 GB - ระบบเทปอัตโนมัติ (Robotic Tape Archive) IBM Magstar Tape Library 3494 ความจุรวม 10.4 Terabyte

ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ ระบบงานสารบรรณ ระบบบริหารงานบุคลากร ระบบสารสนเทศครุภัณฑ์ ระบบจัดเก็บเอกสาร

ระบบสารสนเทศที่ใช้ในกรมอุตุนิยมวิทยา (นอกเหนือการดูแลของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ) ระบบสื่อสารโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (Global Telecommunication System : GTS) ระบบสื่อสารโทรคมนาคมภายในประเทศ (Meteorological Network : METNET) - กองการสื่อสาร ศูนย์และสถานีอุตุนิยมวิทยาในส่วนภูมิภาค ระบบคลังข้อมูลด้านอากาศการบิน (OPMET DATA BANK) - สำนักอุตุนิยมวิทยาการบิน และศูนย์อุตุนิยมวิทยาในส่วนภูมิภาค ระบบเตือนลมสวนทางแนวดิ่ง (Wind Shear Alert System) สำนักอุตุนิยมวิทยาการบิน และศูนย์อุตุนิยมวิทยาในส่วนภูมิภาค ระบบเครื่องรับภาพดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา (Meteorological Sattelite Receiver System)- สำนักเฝ้าระวัง และศูนย์อุตุนิยมวิทยาในส่วนภูมิภาค ระบบเรดาห์ตรวจอากาศและเครือข่ายเรดาห์ (Meteorological Radar System) สำนักเฝ้าระวัง สำนักอุตุนิยมวิทยาการบิน ศูนย์อุตุนิยมวิทยาและสถานีอุตุนิยมวิทยาในส่วนภูมิภาค ระบบตรวจวัดและรายงานแผ่นดินไหว (Seismic System)- สำนักแผ่นดินไหว

นโยบายความปลอดภัย CCTV Key Card User Account Back Up System Firewall and IDS

ปัญหา และ อุปสรรค ความเป็นเอกเทศขององค์กร งบประมาณสนับสนุน ปัญหา และ อุปสรรค ความเป็นเอกเทศขององค์กร งบประมาณสนับสนุน ข้อจำกัดด้านบุคลากร

ขอบคุณครับ.....