Risk Management Asst.Prof. Dr.Ravi.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนะนำกองทุนรวมจากบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวมชั้นนำ
Advertisements

กองทุนรวมของ MFC.
การประเมินโครงการลงทุน Capital Budgeting
การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
ค่าของทุน The Cost of Capital
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
การเลือกคุณภาพสินค้า
ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของ ผู้เป็นหุ้นส่วน
บรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงิน(บบส
โครงสร้างเงินลงทุน ณ 31 พฤษภาคม 2552
โครงสร้างเงินลงทุน ณ 30 กันยายน 2552
โครงสร้างเงินลงทุน ณ 30 มิถุนายน 2552 พันธบัตรรัฐบาล 196 ล้านบาท = 34.56% เงินฝากธนาคาร 212 ล้านบาท = 37.47% ตราสารหนี้ธนาคารรับรอง 30 ล้านบาท = 5.34%
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
การวางแผน เพื่อการเกษียณ
วิกฤติเศรษฐกิจ ส่งผลกระทบอย่างไร. วิกฤติเศรษฐกิจ ส่งผลกระทบอย่างไร.
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
แนวทางการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคม และเศรษฐศาสตร์
เราควรมีเงินเก็บเท่าไรก่อนที่คิดจะลงทุน
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
Basel II : นาย พงษ์พันธ์ ชูรัตนสิทธิ์
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
บทที่ 1 อัตราส่วน.
อ.สมาภรณ์ เย็นดีภาควิชาคอมพิวเตอร์อาคาร 18 ชั้น 2 Tel
การวิเคราะห์รายการค้า และหลักการบันทึกบัญชี
1 สถานะกองทุน 31 ธ. ค มี. ค. 49 มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ 282,421, ,609, บาท จำนวนหน่วย 21,313, ,676, หน่วย จำนวนสมาชิก
1.
กบข. นำเงินสมาชิก ไปทำอะไร. กบข. นำเงินสมาชิก ไปทำอะไร.
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
1 รายงานผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 ณ วันที่ 29 ม.ค สำนักการคลังและสินทรัพย์
งบลงทุน Capital Budgeting
เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ปรับปรุงครั้งล่าสุดเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551
ความสำคัญของการออม เพื่อเกษียณอายุ
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
การพัฒนาระบบการออมเพื่อเกษียณอายุ
Financial Management.
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
1 รายงานสถานะกองทุน และผลการดำเนินงาน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว.
การแจกแจงปกติ.
โครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่ สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลมุกดาหาร จำกัด
การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
บทที่ 4 การดำรงเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์
อ สิทธิชัย เอี่ยววุฑฒะจินดา
Risk Management Strategy
Chapter 11 ต้นทุนของเงินทุน
2.3 การเสนอตัวอย่างการคำนวณเบี้ยประกัน
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
Risk Management Asst.Prof. Dr.Ravi. การระบุมูลค่าความเสี่ยง กรณีการแจกแจงแบบปกติ (Normal Distribution) ความเสี่ยงที่ Pr (r
ตัวอย่าง : ประสิทธิภาพในการผลิต คำถาม : ให้การผลิตสินค้าชนิดหนึ่งมีผู้ผลิต 2 ราย ที่มี Production function เหมือนกันดังนี้ q = K 0.25 L 0.75 ราย A ใช้
กรณีศึกษาบริษัท ผู้พิทักษ์ความสะอาด จำกัด
บทที่ 3 งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันซื้อหุ้น
การพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการวิเคราะห์รายการค้าในวิชาบัญชีเบื้องต้น 1 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 กลุ่ม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Risk Management Asst.Prof. Dr.Ravi

การประยุกต์ใช้มูลค่าความเสี่ยง ดังที่ได้กล่าวมาแล้วจะเห็นว่า VaR(α ) คือ ขนาดของผลขาดทุนหรือขนาดความเสี่ยงที่ผู้ลงทุนต้องเสี่ยง (at Risk) ที่อาจเกิดขึ้นนั่นเอง แนวทางการประยุกต์ใช้ VaR ก.เพื่อใช้เป็นแนวทางตัดสินใจว่าควรลงทุนหรือไม่ ข. VaR ช่วยให้การลงทุนได้อย่างมั่นคงมากขึ้น ค.มูลค่าความเสี่ยงใช้ปรับผลการลงทุนให้มีความเสี่ยงเท่ากัน ทำให้สามารถเปรียบเทียบโครงการลงทุนที่มีความเสี่ยงต่างกันได้

แนวทางการประยุกต์ใช้ VaR ก.เพื่อใช้เป็นแนวทางตัดสินใจว่าควรลงทุนหรือไม่ กำหนด R* = ขนาดผลการขาดทุนที่ทำให้เกิดหายนะด้วยความน่าจะเป็น = α จะปฏิเสธการลงทุนเมื่อ VaR(α)<R* เนื่องจากขนาดของการขาดทุนสูงสุด(วัดโดยค่าVaR)เกินกว่าระดับความหายนะที่ตั้งไว้ VaR R*

การประยุกต์ใช้มูลค่าความเสี่ยง EX กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ มีเงินต้องบริหาร 1,000 ล้านบาท พิจารณาการลงทุนในกลุ่มหลักทรัพย์ ที่มีอัตราผลตอบแทน กำหนดระดับความเชื่อมั่นที่ 99.05 % ไม่อยากขาดทุน = R* = 0.00 VaR(α =.005) = 1,000x.08-2.58x100x.03 = 2.6 ล้านบาท แสดงว่า VaR(α ) >R* , 2.58 >0.0 สรุป การลงทุนนี้ผ่านเกณฑ์

การประยุกต์ใช้มูลค่าความเสี่ยง ข. VaR ช่วยให้การลงทุนได้อย่างมั่นคงมากขึ้น คำถาม ถ้า VaR < R* แล้วยังอยากจะลงทุนจะต้องเปลี่ยนแปลง ขนาดของการลงทุนอย่างไร จากตัวอย่างที่ผ่านมา บริษัทมีสินทรัพย์ A = 100 B. D=50 B. E=50 B. โดยที่

=100 – 36.60 = 64.0 จะเห็นว่าขนาดการขาดทุนสูงสุดคือ -63.40 มองในรูป R มองในรูป W =100 – 36.60 = 64.0 จะเห็นว่าขนาดการขาดทุนสูงสุดคือ -63.40 Wo(1+r) VaR(WT)=36.60 RT=50 115

การประยุกต์ใช้มูลค่าความเสี่ยง ทางแก้ไข โดยการปรับสัดส่วนของทุน เป็น 63.40 ส่วนหนี้ เหลือ 36.60 A 100 D=36.60 E=63.40 A=100 A=100 ดังนั้นขนาดของทุนเท่ากับ VaR α จึงเรียกว่า Economic Capital (ขนาดของทุนทางเศรษฐศาสตร์) นั่นคือ ปรับให้ขนาดของทุนต่ำสุดเท่ากับผลขาดทุนสูงสุด(R=VaR(α )) ที่อาจเกิดขึ้นได้

การประยุกต์ใช้มูลค่าความเสี่ยง Regulatory Capital คือขนาดของทุนที่กำหนดให้จึงเป็นค่าที่คำนวณ VaR(α ) ออกมาได้และธนาคารกลางจึงบังคับให้ธนาคารพาณิชย์ ต้องดำรงเงินกองทุนไว้

การประยุกต์ใช้มูลค่าความเสี่ยง การจัดอันดับความน่าเชื่อถือกับ α Credit Rating สัมพันธ์กับ Pb ของการมีหนี้สิน Ong(1999,p169) พบว่า อันดับความน่าเชื่อถือสัมพันธ์กับขนาดของทุนที่ต้องมากเพียงพอที่จะรองรับการขาดทุนขนาด VaR(α ) ได้ อันดับความน่าเชื่อถือ สอดคล้องกับ α ดังนี้

การประยุกต์ใช้มูลค่าความเสี่ยง ความหมายของระดับเงินกองทุนที่ดำรง อันดับเครดิต α (Pb {Ruin}) AAA 0.0001 AA 0.0003 A 0.0010 BBB 0.0030

การประยุกต์ใช้มูลค่าความเสี่ยง โครงการลงทุน ใช้เงิน 3,000 ล้านบาท ผู้บริหารต้องการให้มี Credit Rating = A ควรกำหนดโครงสร้างของทุน เป็นเท่าไร A= α=.0001 VaR(α=.0001) = 3,000x.12 – 3.09x3,000x.10 = -567 ล้านบาท

การประยุกต์ใช้มูลค่าความเสี่ยง จึงกำหนดขนาดของทุน = 567 ล้านบาท ขนาดของหนี้ = 2,433 ล้านบาท หรือ D/E = 2,433/567 = 4.29

การประยุกต์ใช้มูลค่าความเสี่ยง ค.มูลค่าความเสี่ยงใช้ปรับผลการลงทุนให้มีความเสี่ยงเท่ากัน ทำให้สามารถเปรียบเทียบโครงการลงทุนที่มีความเสี่ยงต่างกันได้ สมมติให้โครงการลงทุนสองโครงการต้องใช้เงินลงทุน 100 บาท โครงการแรกให้ผลตอบแทน 10 บาท โครงการที่สองให้ผลตอบแทน 6 บาท โครงการไหนดีกว่ากัน?

การเปรียบเทียบการลงทุน สมมติโครงการแรกมีอัตราผลตอบแทนที่คาดร้อยละ 9 โครงการสองมีอัตราผลตอบแทนที่คาดร้อยละ 6 โครงการไหนดีกว่า?

ความเสี่ยง สมมติโครงการแรกมีผลตอบแทน 0.352 โครงการสองมีผลตอบแทน 0.102 โครงการไหนดีกว่า? สมมติต่อว่าผู้ลงทุนต้องการปรับให้การลงทุนมีขนาดความเสี่ยงเท่ากับ BBB จะต้องการเงินทุนเท่าไร สิ่งที่ต้องการทราบจึงกลายเป็น VaR(α=0.0030) =?

VaR(α-0.0030) โครงการ A คำนวณ Var (α=0.0030) ได้เท่ากับ 87.25 โครงการ B คำนวณ Var (α=0.0030) ได้เท่ากับ 21.50

RAROC อัตราผลตอบแทนการลงทุนโครงการ A = 10/87.25 = 11.46 อัตราผลตอบแทนการลงทุนโครงการ B = 6/21.50 = 27.91 โครงการไหนดีกว่า? อัตราผลตอบแทนที่ปรับความเสี่ยงออกไปแล้ว (Risk-adjusted Return on Capital: RAROC)

RAROC Dowd (1998) warnings; การลงทุนที่ไม่มีความเสี่ยงเลย VaR ต่ำมากและ RAROC สูงมาก