เรื่อง การใช้ท่าทางประกอบการพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

การพูด.
มนุษยสัมพันธ์สร้างสรรค์งาน
ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
การติดต่อสื่อสาร สร้างสรรค์ประโยชน์ สร้างความประทับใจที่ดี
จิตพิสัยบริการ ฐานสู่ความเป็นเลิศ (Service Mind)
“การให้บริการที่มีประสิทธิภาพ”
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
EQ หลักสูตร การบริหารอารมณ์ สู่การทำงานอย่างมืออาชีพ
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
ความหมายของการโน้มน้าวใจ
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
เรื่อง อารมณ์ในวัยเด็ก
Happy 8 8 Boxes of Happiness
เทคนิคการนำเสนออย่างมีประสิทธิภาพ
การสื่อสารเพื่อการบริการ
ก ล เ ม็ ด เกร็ดการนำเสนอ.
ทักษะภาษาไทยที่นักเรียนควรทราบ
บทที่ บทนำ....
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
ทักษะการสร้างมนุษยสัมพันธ์
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
ฝึกแล้วสื่อความหมายได้ดี ฝึกพูดเป็นการพัฒนามนุษยสัมพันธ์
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
การสร้างบุคลิกภาพที่ดี
โดย... อาจารย์อ้อ สุธาสินี
บทนำ บทที่ 1.
ทักษะการใช้กิริยาท่าทาง และบุคลิกการเป็นครู
โดย พลตรี เอนก แสงสุก ผู้ทรงคุณวุฒิกองบัญชาการกองทัพไทย
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
สำรวจ สิ่งที่รู้แล้ว และ อยากรู้(คำถาม) เฉพาะบุคคล และ กลุ่ม
แนวทางการก้าวสู่การเป็น
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารมี 2 ประเภทคือ
ศิลปะการพูดในที่ชุมชน
พิธีกร (Master of Ceremony: MC)
อาณ์รมของเด็ก     ลักษณะเด่นทางอารมณ์ของเด็กวัย 3-5 ขวบ มักเป็นเด็กที่แสดงออกอย่างเปิดเผยชัดเจน และแสดงออกตรง ๆ เช่น รัก รื่นเริง โกรธ โมโห หงุดหงิด อิจฉา.
KM เทคนิคสู่ความสำเร็จ การบริการระดับ 7 ดาว.
ความรู้เกี่ยวกับตัวเรา
ความหมายของบุคลิกภาพ บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน นางพัทธนันท์
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ข้อมูล
การฟังและการดูสื่อประเภทโฆษณา ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
เทคนิคการนำเสนอข้อมูลด้วยวาจา
งานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค รพ.หาดใหญ่
ทักษะการใช้กิริยาท่าทางและบุคลิกการเป็นครู
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
บุคลิกภาพ และ มนุษยสัมพันธ์ โดย รองศาสตราจารย์ดรุณ หาญตระกูล
เทคนิคการถ่ายทอด พ.อ.ฐิตินันท์ อุตมัง.
เรื่อง การปฏิบัติตนในวัยรุ่น
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
เรื่อง การใช้ภาษาในการพูด ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
วาทนิเทศและเทคนิคการนำเสนอ
การพูด.
ความเป็นครู.
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
การใช้ทักษะในการพูด ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการพูด ผู้พูด สื่อ สาร
เทคนิคการให้คำปรึกษา
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
มนุษยสัมพันธ์ ( Human Relations )
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ความสัมพันธ์ของการฟังและการดู ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
หลักการและขั้นตอน การออกแบบเว็บไซต์
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การนำเสนอสารด้วยวาจา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง การใช้ท่าทางประกอบการพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์ วิชาภาษาไทย ท42101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การใช้ท่าทางประกอบการพูด ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์ ครูเชี่ยวชาญ คศ.4

การใช้ท่าทางประกอบการพูด การใช้ท่าทางหรืออากัปกิริยาประกอบการพูด มีส่วนในการช่วยสื่อความหมายได้ดีพอ ๆกับการใช้คำพูดและเสียงพูด

รองศาสตราจารย์วิรัช ลภิรัตนกุล รองศาสตราจารย์วิรัช ลภิรัตนกุล ผู้แต่งหนังสือ วาทนิเทศและวาทศิลป์กล่าวถึงการใช้สายตาและอากัปกิริยาท่าทางต่าง ๆ ประกอบการพูด สรุปได้ดังนี้

ผู้พูดสามารถใช้สายตา อากัปกิริยาท่าทางประกอบการพูดของตน เพื่อช่วยในการสื่อความหมายให้การพูดมีน้ำหนัก มีความเข้าใจชัดเจน และน่าสนใจยิ่งขึ้น

นอกจากนี้ การใช้อากัปกิริยา ท่าทาง ยังเป็นการแสดงถึงบุคลิก ลักษณะของผู้พูดให้ปรากฏออก มาสู่สายตาผู้ฟัง

ผู้พูดมีกิริยาท่าทางวอกแวก ลุกลี้ลุกลน ย่อมส่อแสดงถึงความไม่เชื่อมั่นหรือไม่มั่นใจตนเอง

ผู้พูดที่มีสายตาเฉยเมย หรือกิริยาท่าทางมึนตึงเฉื่อยชา ย่อมแสดงถึงการขาดความเอาใจใส่ หรือขาดความสนใจที่จะสื่อสารกับผู้ฟัง

ผู้พูดที่มีกิริยาท่าทางกระปรี้กระเปร่า มีชีวิตชีวา ย่อมแสดงถึงความพร้อมและความกระตือรือร้นที่จะสื่อสารกับผู้ฟัง

นอกจากนี้ การวางท่า การเคลื่อนไหว ท่าทาง การแสดงสีหน้าของผู้พูด กิริยาท่าทางการยืน การเดินเหิน การใช้ศีรษะ หัวไหล่และมือสิ่งเหล่านี้คือ ภาษาแห่งร่างกาย ที่สามารถสื่อความหมายแก่ผู้ฟังได้เป็นอย่างดี

ผู้พูดมีสีหน้าบึ้งตึง เป็นการแสดงถึงความโกรธหรือไม่พอใจ สีหน้าที่ยิ้มแย้มอ่อนโยน แสดงถึงความมิตรไมตรี เช่น สีหน้าและแววตาที่บิดามารดามองดูบุตรของตนอย่างห่วงใยย่อมแสดงถึงความเมตตากรุณาและปรารถนาดี

กิริยาท่าทางที่บิดามารดาลูบหัวลูก แสดงถึงความรักใคร่เอ็นดู ทะนุถนอม ดังนั้น สีหน้าแววตา กิริยาท่าทาง จึงสามารถสะท้อนให้เห็นเจตนาหรือสิ่งซ่อนเร้นในส่วนลึกจิตใจของมนุษย์

การพูดก็เช่นกัน สีหน้า แววตา กิริยาท่าทาง สะท้อนให้เห็นเจตนาหรือจิตใจของผู้พูดได้เป็นอย่างดี

นอกจากนี้อากัปกิริยาท่าทาง ยังสามารถดึงดูดให้ผู้ฟังสนใจสิ่งที่พูดการใช้กิริยาท่าทางประกอบการพูดอย่างเหมาะสม ย่อมเป็นสิ่งดึงดูดความสนใจและตรึงความสนใจของผู้ฟังได้ดีที่สุด

การประสานสายตา คือ การที่ผู้พูดใช้สายตาจับกลุ่มผู้ฟังอย่างทั่วถึงในการสนทนาระหว่างบุคคล หรือการพูดในที่ชุมนุมชน ผู้พูดที่ดีย่อมต้องมีการประสานสายตากับผู้ฟังอย่างสม่ำเสมอ

ผู้พูดไม่ควรทอดทิ้งหรือละความสนใจจากผู้ฟัง ด้วยการมองไปยังสิ่งอื่น ๆ เช่น มองออกไปทางระเบียงหน้าต่างห้อง ก้มหน้ามองโต๊ะ แหงนมองเพดาน หรือใช้สายตาเหม่อลอยไม่มีจุดหมาย เป็นต้น

ลักษณะการพูดดังกล่าวนี้ ควรปรับปรุงแก้ไข เพราะกิริยาที่ไม่พึงปรารถนาเหล่านี้ นอกจากจะไม่ช่วยในการสื่อสารให้ดีขึ้นแล้ว ยังบั่นทอนทำลายบุคลิกภาพของผู้พูดอีกด้วย