โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านชลประทาน ณ เขื่อนขุนด่านปราการชล จังหวัดนครนายก รุ่นที่ 1 ระหว่าง วันที่ 22 -23 พฤศจิกายน 2556
ความเป็นมา วันที่ 4 ธันวาคม 2536 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชดำริให้กรมชลประทานพิจารณาวางโครงการและก่อสร้าง เขื่อนคลองท่าด่านซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาลุ่มน้ำนครนายกเพื่อการอุปโภคบริโภค บรรเทาอุทกภัยและแก้ปัญหาดินเปรี้ยว
ความเป็นมา (ต่อ) ดดดดดดดด เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2549 เขื่อนคลองท่าด่าน ได้รับพระราชทาน ชื่อใหม่ว่า “เขื่อนขุนด่านปราการชล”
วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นแหล่งน้ำสำหรับการอุปโภคบริโภค 1. เพื่อเป็นแหล่งน้ำต้นทุนตลอดทั้งปีของโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเขื่อนขุน-ด่านปราการชลและโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษานครนายก โดยสามารถจัดสรร-น้ำให้พื้นที่ชลประทานได้รวม 185,000 ไร่ ประกอบด้วย พื้นที่ชลประทานในเขตโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเขื่อนขุนด่านปราการชลจำนวน 20,000 ไร่ และพื้นที่ชลประทานในเขตโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษานครนายก จำนวน 165,000 ไร่ 2. เพื่อเป็นแหล่งน้ำสำหรับการอุปโภคบริโภค 3. เพื่อบรรเทาปัญหาอุทกภัยในเขตจังหวัดนครนายก 4. เพื่อแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวในเขตจังหวัดนครนายก
ที่ตั้ง/ลักษณะหัวงาน ที่ตั้งหัวงาน หมู่ที่ 1 ต.หินตั้ง อ.เมือง จ.นครนายก พิกัด 47 PQR 524829 พื้นที่รับน้ำ 152 ตร.กม. ลักษณะหัวงาน มีรายละเอียดดังนี้ - ชนิดของตัวฝายมีขนาดสูงประมาณ 10.00 ม. และยาว 80.00 ม. - ระดับสันฝาย +45.000 รทก. ตัวฝายสามารถระบายน้ำได้สูงสุด 900 ม.3/วินาที พื้นที่น้ำท่วมหน้าฝายเมื่อระดับน้ำสูงสุด(+48.000 รทก.) ประมาณ 70 ไร่ พื้นที่หัวงาน 500 ไร่ ภาพแสดง ฝายท่าด่าน
ข้อมูลเขื่อน เขื่อนคอนกรีตบดอัด ( Roller Compacted Concrete Dam) Agenda Your own sub headline เขื่อนคอนกรีตบดอัด ( Roller Compacted Concrete Dam) ความสูง 93 เมตร ความยาวสันเขื่อน 2,594 เมตร ความสามารถกักเก็บ 224 ล้าน ลบ.ม. ปริมาตรคอนกรีตตัวเขื่อน 5.47 ล้าน ลบ.ม. ช่วงระยะเวลาการก่อสร้าง(ตามสัญญา) 2 พ.ย. 2542 - 30 ต.ค. 2547 ราคาค่าก่อสร้าง 10,193,000,000 บาท แผนฯ 11 มุ่งสู่ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขด้วยความเสมอภาค เป็นธรรมและมีภูมิคุ้มกันต่อความเปลี่ยนแปลง” เพื่อประโยชน์สุขที่ยั่งยืนของไทยตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วัดด้วยดัชนีความอยู่เย็นเป็นสุข
โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษานครนายก 165,000 ไร่ เขื่อนขุนด่านปราการชล
ประโยชน์ 1. บรรเทาอุทกภัย 3. แหล่งเพาะพันธุ์ปลาน้ำจืด 2. 5. แก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว 5. เศรษฐกิจขยายตัว 4. แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
แก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว รักษาระดับน้ำใต้ดินจากการ มีน้ำชลประทานทำให้สามารถบรรเทาปัญหาดินเปรี้ยว ในเขตพื้นที่ชลประทาน
บรรเทาอุทกภัย
แหล่งเพาะพันธุ์ปลาน้ำจืด
แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
เศรษฐกิจขยายตัว
ภาพกิจกรรม
ภาพกิจกรรม (ต่อ)