1 I K R S การประชุม เรื่อง “ การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ” วันพุธที่ 1 กันยายน 2547 โดย ผู้ช่วยอธิการบดี ( ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
Advertisements

การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การนำส่งภาษีผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
โครงการเพิ่มช่องทางการรับชำระเงินค่าหอพัก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชิน ปลีหะจินดา
สรุปผลการทบทวนความเสี่ยง องค์การจัดการน้ำเสีย ประจำปี 2551
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
การประเมินความเสี่ยง เพื่อวางแผนการตรวจสอบ
โดย ศาสตราจารย์ ดร.ศิริชัย กาญจนวาสี ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
Risk Assessment Lectured by Dr. Siriluck Sutthachai
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
ฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน กองแผนงาน 15 กุมภาพันธ์ 2553
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
สารบัญ คำนำ หน้า บทสรุปผู้บริหาร วิสัยทัศน์&ภารกิจ
การบริหารความเสี่ยง ของสหกรณ์
การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
KM เรื่อง “การบริหารความเสี่ยง” ส่วนบริหารการจัดเก็บภาษี
Analyzing The Business Case
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
เพิ่มประสิทธิภาพ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ด้านการจัดทำแผนธุรกิจ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ โครงการ การบริหารงบประมาณตามแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานทุกหน่วยงานใช้เงินงบประมาณ ทันเวลา.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
LOGO ThemeGallery PowerTemplate สมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่ง ประเทศไทย Clinic IA 9/2554 Concern for audit planning.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ความเสี่ยง ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งานไม่ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
Nakhon Sawan Survey “ เท่าเทียม ทั่วถึง ทุกท้องที่ ”
มาตรฐานการควบคุมภายใน
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
แบบฟอร์ม - ERM I ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา
กระบวนงาน การฝึกอบรม ประชุม สัมมนา.
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การจัดทำดัชนีชี้วัดและ การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
การกำหนดแผนงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กังวาน ยอดวิศิษฎ์ศักดิ์
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หลักการเขียนโครงการ.
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ (Planning & Strategic Management)
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการคลังท้องถิ่น จังหวัดนครราชสีมา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 I K R S การประชุม เรื่อง “ การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ” วันพุธที่ 1 กันยายน 2547 โดย ผู้ช่วยอธิการบดี ( ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ อัครประถม พงศ์ ) แนวคิดการบริหารความเสี่ยง

2 I K R S คำนิยาม : ความเสี่ยง และปัจจัยเสี่ยง ( จากเอกสารประกอบการประชุมคณบดี ครั้งที่ 15/2547 วันพุธที่ 16 มิถุนายน 2547) ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความ ผิดพลาด ความเสียหาย การ รั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ซึ่ง ไม่พึงประสงค์ที่ทำให้งานไม่สำเร็จ ตาม วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ กำหนด ปัจจัยเสี่ยง หมายถึง สาเหตุหรือปัจจัยที่ทำให้เกิดความเสี่ยง ( แหล่งอ้างอิง : คำแนะนำ การนำมาตรฐานการควบคุมภายในไปใช้ในเชิงปฏิบัติ ของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน )

3 I K R S ประเภทและแหล่งของความเสี่ยง ความเสี่ยงจาก ปัจจัยภายใน 1. Financial Risk 2. Operational Risk ( รวม Human Resource) 3. Policy/Strategic Risk การเงิน การดำเนินงาน นโยบาย / กลยุทธ์ ความเสี่ยงจาก 4. ปัจจัยภายนอก Competitive Risk Supplier Risk Regulatory Risk Econ/Political Risk การแข่งขัน ผู้ขาย / ผู้ส่งมอบ กฎระเบียบ เศรษฐกิจ / การเมือง

4 I K R S Risk-Control-Internal Auditing วัตถุประสงค์ / เป้าหมายที่ไม่มี การควบคุม ยอมรับไม่ได้ การควบคุม โดยปราศจาก ความเสี่ยง คือความสูญเสียด้าน ทรัพยากร ความเสี่ยง ที่ปราศจาก การควบคุม เป็นเรื่องที่ยอมรับไม่ได้ การตรวจสอบภายใน ที่ไม่ครอบคลุมทั้ง ความเสี่ยง และการ ควบคุม เป็นเรื่องที่เสียเวลา = รายงานสิ่งผิดปกติ Abnormality Report “Risk Based Auditing” Risk Control Wastes Unacceptable

5 3 I K R S ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง 1. การกำหนด วัตถุประสงค์ (Objectives Establishment) 2. การระบุความ เสี่ยง (Risk Identification) 3. การประเมินความ เสี่ยง (Risk Assessment) 4. การสร้างแผน จัดการ (Risk Management Planning) 5. การติดตามสอบ ทาน (Monitoring & Review) 1 2 4

6 I K R S การจัดระดับความเสี่ยง ก 1 เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วสร้าง ความเสียหาย ระยะสั้นส่งผลต่อ ความเชื่อมั่นขององค์กร เห็นเป็น รูปธรรมที่ชัดเจน สร้างความ เสียหายต่อชื่อเสียงของ มหาวิทยาลัยต้องแก้ไขโดย เร่งด่วน และมีโอกาสที่ จะเกิดขึ้นบ่อยๆ ก 2 เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วสร้าง ความเสียหาย ระยะสั้นส่งผลต่อ ความเชื่อมั่นขององค์กร เห็นเป็น รูปธรรมที่ชัดเจน สร้างความ เสียหายต่อชื่อเสียงของ มหาวิทยาลัย แต่มีโอกาสในการ เกิดไม่บ่อย ข 1 เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วส่งผล ในระยะยาว ความเสียหายอาจจะ ไม่รุนแรงในระยะต้น แต่บั่น ทอนหรือเป็นอุปสรรคต่อการ พัฒนา ในอนาคต และมี โอกาสเกิดขึ้นบ่อย ข 2 เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วส่งผล ในระยะยาว ความเสียหาย อาจจะไม่ชัดเจน แต่บั่นทอนหรือ เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาใน อนาคต และมี โอกาสในการเกิดไม่บ่อย 3 2

7 I K R S การสร้างแผนจัดการ 4 ประเภทของแผนจัดการ ความเสี่ยง 1. Take การยอมรับความ เสี่ยง 2. Treat การลด / ควบคุม ความเสี่ยง 3. Terminate การ หลีกเลี่ยงความเสี่ยง 4. Transfer การกระจาย / โอนความเสี่ยง

8 การติดตามผล ( ตัวอย่าง ธ. กรุงเทพ ) 2 ราย / 3 เดือน 2 ครั้ง / 3 เดือน ใช้เวลา 3 นาที 85 % สภาพ ปัจจุบัน ทุกคน จนท. ผู้รับผิดช อบ ผู้รับผิดช อบ ไม่ ผิดพลาด เลย ใช้เวลา 1 นาที 95 % เป้าหมาย เข้าบัญชีผิดพลาดน้อยลง หรือไม่ผิดเลย เข้าบัญชี ผิดสกุล / Amount 3 - ต้องลดยอดภาระไม่ ผิดพลาด - ลดปริมาณเอกสารที่ส่ง มาทาง FAX - สามารถตอบลูกค้าได้ อย่างรวดเร็วเมื่อลูกค้าขอ เช็คสอบภาระ ลืม / ลด ยอดภาระ ผิด 2 สามารถจัดหาเอกสารที่ ถูกต้องเรียบ ร้อยและทันตามเวลาที่ ธปท. กำหนด เอกสาร ไม่ชัดเจน 1 ตัวชี้วัดความ เสี่ยง ลำดั บ ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เพิ่มความพึงพอใจของลูกค้า 2. เป็นภาพลักษณ์ที่ดีของธนาคาร เนื่องจากสามารถเตรียมเอกสารได้ ถูกต้องและทันเวลาตามความประสงค์ของ ธปท. 2. เจ้าหน้าที่ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพิ่มความรวดเร็วในการให้บริการ 4. ลดค่าใช้จ่ายทาง FAX เช่น กระดาษ, ค่าผงหมึก และค่าเก็บรักษา เอกสารที่ดอนเมือง 5