สถานศึกษาประเภทที่ 1 ทบทวนสาระผู้นำการเปลี่ยนแปลง การขับเคลื่อนการบริหารและการจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School-based Management) สู่ห้องเรียนคุณภาพ วันที่ 3 กันยายน 2551 สถานศึกษาประเภทที่ 1 สำหรับ Roving Team นายนคร ตังคะพิภพ
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง ที่ Roving Team พึงยึดเป็นหลักการ ภาพความคาดหวัง ห้องเรียนคุณภาพ ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง ที่ Roving Team พึงยึดเป็นหลักการ
วิเคราะห์ผู้เรียน รายบุคคล พัฒนาครู/ครูพัฒนาตน : ตัวแปรต้น วิเคราะห์หลักสูตร วิเคราะห์ผู้เรียน รายบุคคล CAR กิจกรรมหลากหลาย มาตรฐานครู ปรับแก้ไขการสอน ICT วัดประเมินรอบด้าน เพื่อนักเรียนมีคุณภาพยกระดับ : ตัวแปรตาม
ผู้บริหารผู้นำการเปลี่ยนแปลง ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง ศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนการจัดการศึกษาเดิมของแต่ละโรงเรียน(Based-Line) เป้าหมายเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน หลักสูตร กิจกรรมสนับสนุน ออกแบบการจัดการ เรียนรู้อิงมาตรฐาน Positive Discipline แหล่งเรียนรู้ องค์ประกอบสำคัญของห้องเรียนคุณภาพ ICT โรงเรียน ผู้บริหารผู้นำการเปลี่ยนแปลง ICT ห้องเรียน ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง ห้องเรียน คุณภาพ CAR Inside out Outside in การวางแผนพัฒนาตนเอง (ID Plan) บริหารการเปลี่ยนแปลง บริหารฐานโรงเรียน(SBM) มาตรฐานการศึกษาชาติ
หลักสูตร และ การจัดการเรียนรู้ อิงมาตรฐาน ปัจจัย เริ่มต้นของ การสร้างคุณภาพ การเรียนรู้ คือ โดย การบริหารหลักสูตรสถานศึกษา และครูมีแผนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
ลักษณะกระบวนการเรียนรู้ที่พึงประสงค์ เป็นกระบวนการของปัญญาพัฒนาเด็ก เรียนรู้อย่างมีความสุข เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียน บูรณาการสาระการเรียนรู้ เป็นกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง เป็นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันภายใต้ บรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ผลลัพธ์ ครูมืออาชีพ วิทยฐานะใหม่ ทั้งหลักสูตรสถานศึกษาและการออกแบบการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ทุกรายวิชา คณะครูวิเคราะห์ต้นทุนและหา N/A เพื่อยกระดับมาตรฐานครู สถานศึกษา/ผู้บริหาร เป็นที่ศรัทธา/ชื่นชม บรรลุมาตรฐาน ผู้เรียน ผลลัพธ์ ครูมืออาชีพ วิทยฐานะใหม่
ปัจจัย สนับสนุน ภายนอก ICT ห้องเรียน ICT โรงเรียน ปัจจัยสนับสนุนภายใน
พึ่งพา เชิงบวก พอเพียง Network วิเคราะห์ต้นทุนICTโรงเรียน(บริหาร)และICTห้องเรียน(ครู) ให้พบจุดอ่อน/จุดแข็ง เพื่อเร่งรัดจัดโอกาสให้เหมาะสม Pressure เชิงบวก Supports พอเพียง A1~A4 ทุกกลุ่มสาระฯ A1~A4 ทุกกลุ่มสาระฯ ทั้งภาพโรงเรียน และภาพห้องเรียน
ระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียน P D วินัยเชิงบวก ห้องเรียนน่าอยู่ น่าเรียน ศักยภาพ นักเรียน สัมผัสรู้ ตอบสนองโอกาส ที่แตกต่าง
วิเคราะห์ต้นทุนระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน/จัดข้อมูลสารสนเทศนักเรียน ครูรู้จักนักเรียน เป็นรายบุคคล ส่งเสริมด้วย PD วิเคราะห์ต้นทุนระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน/จัดข้อมูลสารสนเทศนักเรียน ให้ความสำคัญกิจรรมคุณธรรมเพิ่มเวทีส่งเสริมศักยภาพนักเรียน ส่งเสริมสุนทรียศาสตร์ มาตรฐาน วิชาการ ครอบครัว/ เครือข่ายผู้ปกครอง เข้มแข็ง รักษ์เกียรติภูมิ รักษ์เกียรติประวัติ รักษ์เกียรติยศ
CAR Classroom Action Research รู้สภาพ บริบทห้องเรียน ครูรู้ตัวตน (การจัดการเรียนรู้) CAR Classroom Action Research ปรับ ทบทวน ให้สอดคล้อง รู้นักเรียน ผู้ที่ครูดูแลรับผิดชอบ
การวิเคราะห์ผู้เรียน การพัฒนานวัตกรรม การประเมิน กรณีศึกษานักเรียน การวิเคราะห์ผู้เรียน
ผลลัพธ์ ครูมืออาชีพ มาตรฐานตำแหน่ง/วิทยฐานะครู ประเมินด้วย CAR มีนวัตกรรม แพร่หลาย อย่างมีประจักษ์พยานการสอน ใส่ใจการสอน และปรับ/พัฒนา ผลลัพธ์ ครูมืออาชีพ เน้นศึกษานักเรียนรายบุคคล
ผู้บริหารผู้นำการเปลี่ยนแปลง ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง โรงเรียนคุณภาพและสร้างสรรค์ ห้องเรียนคุณภาพ ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง โรงเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
ขอบข่ายครู/ผู้บริหาร นำการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมการบริหาร และการนำการเปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ การบริหารฐานโรงเรียน ขอบข่ายครู/ผู้บริหาร นำการเปลี่ยนแปลง จุดมุ่งหมาย การปฏิรูปการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ
แนวร่วมตัดสินใจ วิเคราะห์องค์กร ภูมิหลัง วัฒนธรรม ธรรมเนียมปฏิบัติ สื่อสารความภาคภูมิใจร่วมกัน วิเคราะห์องค์กร ภูมิหลัง วัฒนธรรม ธรรมเนียมปฏิบัติ อำนาจบารมีบุคคลที่เกี่ยวข้อง เป้าหมายชัดเจน ที่คุณภาพผู้เรียน ผู้นำทุ่มเท เกาะติดต่อเนื่อง แนวร่วมตัดสินใจ โปร่งใส/ศรัทธา น่าไว้วางใจ
มีความน่าเชื่อมั่น/มีร่องรอยว่าดี ห้องเรียนคุณภาพ มีความน่าเชื่อมั่น/มีร่องรอยว่าดี ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง มีพัฒนาการจากจุดเดิม มิใช่ต้นทุนเดิม ภาพความสำเร็จที่คาดหวัง เห็นหนทางว่ายกระดับได้จริงแม้ผ่าน 1 ภาค-1 ปี บรรยากาศ ทางกายภาพ กิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้อง ใจที่เข้าถึง
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ : Learning on the Job การติดตาม ต่อเนื่อง บทบาทร่วมของ โรงเรียน TOT/RT สพท. สพฐ Coaching แลกเปลี่ยน เรียนรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ : Learning on the Job
แนวคิด-แนวทางที่ฝากให้ RT ช่วยกันประยุกต์ใช้เครื่องมือให้เป็นประโยชน์ในการกระตุ้นกระบวนการ มากกว่าใช้เครื่องมือเพื่อพิสูจน์ผลลัพธ์ในเวลาเพียง ๑ ภาคเรียน ติดตาม นิเทศ ฝ่ายบริหารสถานศึกษา(ผอ.และรองฯ) ให้เกิดบทบาทสนับสนุนห้องเรียนคุณภาพที่เน้นวงรอบนอกและบริบทสนับสนุนอื่น ๆ 2. ติดตามนิเทศ ครู ให้เกิดบทบาทพัฒนาห้องเรียนคุณภาพแต่ละ กลุ่มสาระฯที่เน้นวงรอบใน ซึ่งเป็นภาพรวม มิใช่ดีแต่ละด้าน 3. การประเมินคัดเลือก ร.ร./ครู ผู้นำดีเด่น ควรรอบคอบมาก ๆ