ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้ป่วยแน่น OPD. ผู้ป่วยแน่น OPD ผู้ป่วยแน่น IPD.
Advertisements

(District Health System)
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS)
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
นโยบายการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การพิจารณาคำขอรับค่าตอบแทนและอนุมัติให้ได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบ ก. พ
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
(District Health System)
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
ท้อง ถิ่น รพ สต ผู้นำ ชุมชน อสมอสม กอง ทุนฯ ประกาศ ค่ากลาง บูรณาการ งาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผ ล สร้าง โครงการ เปิดงาน บทบาทของฝ่ายต่างๆในการเปลี่ยนผ่าน.
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
โครงการสร้างความเข้มแข็ง การพัฒนาระบบสุขภาพระดับอำเภอ
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
การปรับเกณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ในระดับบริการปฐมภูมิ
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย นพ.โกเมนทร์ ทิวทอง สำนักบริหารการสาธารณสุข

คำนิยาม หมอประจำครอบครัว : บุคลากรสาธารณสุขที่สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรขึ้นไปที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับ ด้านสาธารณสุขในพื้นที่ ที่รับผิดชอบของรพ.สต./ศสม.โดยรับผิดชอบประชากรประมาณ 1,250 -2,500 คน/ หมอประจำครอบครัว แพทย์ที่ปรึกษา : แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป/แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว/แพทย์เฉพาะทางที่มีความสนใจในงานบริการ ระดับปฐมภูมิ ทีมหมอประจำครอบครัว : ทีมที่ประกอบด้วยแพทย์ ทันตบุคลากร เภสัชกรพยาบาล นักกายภาพบำบัด เจ้าหน้าที่ สาธารณสุขที่มีหน้าที่รับผิดชอบสุขภาพแต่ละครอบครัวตามพื้นที่รับผิดชอบในลักษณะองค์รวมโดยประสานความ ร่วมกับทุกภาคีสุขภาพในการจัดให้เกิดบริการจนกระทั่งสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้(Selfcare)

แนวทางดำเนินการ พื้นที่เขตชนบท(รพสต.) : บุคลากรสาธารณสุขในรพสต.แบ่งพื้นที่ ที่รับผิดชอบโดยรับผิดชอบประชากรประมาณ 1,250 -2,500 คน/หมอประจำครอบครัวซึ่งส่วนใหญ่ได้ดำเนินการอยู่แล้ว โดยเพิ่มการมีแพทย์ที่ปรึกษาจากรพช.ทุก รพสต.เพื่อให้คำปรึกษาและรับส่งต่อและมีทีมหมอประจำครอบครัวซึ่งเป็นทีมสหวิชาชีพคอยช่วยเหลือในการดูแล ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ พื้นที่เขตเมือง(ศสม.) : ทุกชุมชนในเขตเทศบาลมีทีมหมอประจำครอบครัว2-3คนต่อชุมชนโดยมีแพทย์ผู้รับผิดชอบศสม. เป็นแพทย์ที่ปรึกษา(แพทย์ 1คนต่อ1 ศสม.) พื้นที่เขตอำเภอเมืองนอกเขตเทศบาล: ดำเนินการเหมือนพื้นที่รพสต.โดยที่รพศ./รพท.มอบหมายให้มีแพทย์ที่ปรึกษาๆละ 3-5รพสต.หรือจ้างแพทย์ให้ปฏิบัติงานในเครือข่ายรพสต.ที่รวมกลุ่มในขนาดที่เหมาะสม

กระบวนการสร้างหมอประจำครอบครัว 1. MD / NP / นวก.สธ. เขต สป. สสจ. เจ้าหน้าที่ครบ 2. จพ.สาธารณสุข 3. ทันตาภิบาล / ทันตแพทย์ 4. กายภาพ/เภสัชกร 5. แพทย์แผนไทย รพช. + สสอ. ใช้กลยุทธ์ CBL ชุมชน เพิ่มสมรรถนะตามหลักการ เวชศาสตร์ครอบครัว 1. Home visit 2. Hospital visit 3. Refer / consult 4. Case conference 5. Supervision เครื่องมือ FF / ข้อมูล กองทุน แผนตำบล พยาบาลชุมชน อสม. ครอบครัว ทีมหมอประจำครอบครัว MD / NP / นวก.สธ. อสม. ครอบครัว นวก. ครอบครัว จพง. 5 กลุ่มวัย 1. Self care รู้จักกัน Empowerment เพิ่มผลคุณภาพบริการ ลดโรค ลดตาย ลดแทรกซ้อน 2. Accessibility to essential care

หมอประจำครอบครัว กับ DHS INPUT PROCESS OUT PUT OUT COME หมอประจำครอบครัว Self Care Essential Care ตำบลจัดการสุขภาพ หนึ่งอำเภอหนึ่งโครงการแก้ปัญหาสุขภาพ ODOP Appreciation การมองเห็นคุณค่าการทำงานร่วมกันอย่างมีความสุข งบประมาณ UC การสนับสนุนคน Unity Team แผนเงินบำรุง แผน PP แผนเงินลงทุน CBL ศูนย์เรียนรู้ เวชศาสตร์ครอบครัว SRM R2R 3 ดี สุขภาพดี ตัวชี้วัด PP คนดีมีความรู้ รายได้พอดี Primary Care Accreditation ประเมิน

เป้าหมายการดำเนินการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล / ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง ทุกแห่ง ระยะเวลา ✓ เริ่มดำเนินการทันทีเสร็จภายใน 4-6 เดือน เริ่มดำเนินการทันทีแล้วเสร็จภายใน 6 เดือนขึ้นไปถึง 1ปี ประโยชน์ที่จะเกิด 1.กับประชาชนที่เป็นรูปธรรม : ได้รับบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐานในทุกกลุ่มวัยตามความต้องการของแต่ ละบุคคล 2. ด้านเศรษฐกิจ : ลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพทุกครอบครัว

กลไกการขับเคลื่อน ระบบการสนับสนุน ติดตามและประเมินผลโดยทีมDHS ในแต่ละอำเภอและฝ่ายเวชกรรมสังคมทุกรพศ./รพท.

หมอประจำครอบครัว แพทย์ที่ปรึกษา แกนนำสุขภาพ ครอบครัว 1 แพทย์ ทำหน้าที่ FM ใน รพ. งานบริการ ... ดูแลความเสี่ยงตามกลุ่มอายุ พยาบาล 20 อสม 1,250-2,500 5 กลุ่มวัย ขอคำปรึกษา แกนนำสุขภาพ ครอบครัว 1 Community Health ... ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จพง./นวก. 20 รพ.สต. 1-3 แห่ง CNO_D อสม 1,250-2,500 แกนนำสุขภาพ ครอบครัว 1 4 ดี ... - แพทย์ประจำโรงพยาบาลหรือแพทย์เฉพาะทางที่สนใจ แพทย์แผนไทย 20 อสม 1,250-2,500