FM FM

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
Advertisements

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
ค่าของทุน The Cost of Capital
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
การขายผ่อนชำระและการเช่าซื้อ
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
ความสำคัญของการบริหารการเงิน
ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของ ผู้เป็นหุ้นส่วน
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
เกมธุรกิจแห่งชาติ ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ยอดขาย 10% 2 กำไร 40% 3 ROE 15%
บรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงิน(บบส
SYRUS Securities PLC. ก้าวสู่การลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ SYRUS Securities PLC.
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
ฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน และ สมการทางบัญชี
งบประมาณ และ กลยุทธ์ทางด้านการเงิน ธนชัย ผู้พัฒน์
Statement of Cash Flows
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
การวิเคราะห์รายการค้า และหลักการบันทึกบัญชี
หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง

บทที่ 12 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ประเภทของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
การบัญชีขั้นกลาง 1 (Intermediate Accounting 1)
The Analysis And Use of Financial Statement
บทที่ 4 งบการเงิน.
ระบบบัญชีเดี่ยว.
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
งบลงทุน Capital Budgeting
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต พัฒนาการอำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร
Financial Management.
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3)
เป้าประสงค์ คิดคำนวณกำไร – ขาดทุนจากการประกอบอาชีพ
การฝึกอบรม โครงการ GFMIS-สคร. ผังบัญชีและความถี่ในการส่งข้อมูล
การรับรองงบการเงินของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2518 – 2552
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
เรื่อง พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 2 การจัดหาเงินทุน (Financing)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3
หน่วยที่ 4 รายการปรับปรุงและงบทดลอง หลังรายการปรับปรุง
สินค้าคงเหลือ.
หน่วยที่ 4 รายการปิดบัญชีและงบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม
เทคนิคการจำแนกหมวดบัญชี
Chapter 11 ต้นทุนของเงินทุน
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
กรณีศึกษามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 สัญญาเช่า
การบันทึกบัญชีและการจัดทำรายงานการเงิน
สมชาย วิวัฒนวัฒนา.
1.
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
การรวมธุรกิจ.
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
FINANCIAL PLANNING (CASH BUDGET)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

8-9 101.5 FM www.curadio.chula.ac.th

ร่างมาตรฐานการบัญชี  www.fap.or.th

สิทธิการเช่า ไม่ใช่ สท ไม่มีตัวตน ห้ามตีราคาใหม่ รวมถึงกรณีสร้างอาคารลงบนที่ดิน ยกให้เป็นกรรมสิทธิ์ของเจ้าของที่ดิน แลกกับสิทธิใช้ที่ดิน และอาคาร

การรวมกิจการภายใต้แม่เดียวกัน Change in legal form but not in substance การจัดทำงบรวมต้องทำตามวิธี pooling

TAS 11 คาดว่าจะใช้จนถึงปี 2555 รอบปี 56 การตั้งค่าเผื่อหนี้ฯ จะทำกับลูกหนี้แต่ละรายโดยใช้วิธีพยากรณ์กระแสเงินสด คิดลดมาเป็นมูลค่าปัจจุบัน

TAS = IFRS + US GAAP (4) + non-IFRS (1)

TAS 26 การรับรู้รายได้สำหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ใช้ตั้งแต่ปี 2537 เปิดโอกาสรับรู้รายได้ 3 วิธี 1) % ของงาน 2) เงินค่างวด 3) เมื่อโอนฯ เร็วๆ นี้ จะเหลือวิธีเดียวคือรับรู้เมื่อโอนเท่านั้น คาดว่าปี 54 รอบบัญชีแรกเริ่มใช้วิธีเดียว

ตย TAS 16 ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ ไม่กำหนดให้กิจการหยุดคิดค่าเสื่อม หากราคาซาก > ราคาตามบัญชี (ฉบับใหม่ ที่จะใช้ 54 กำหนดให้หยุดคิดค่าเสื่อมเมื่อซาก > ตามบัญชี)

เดิม ดำเนินงาน กำไรสุทธิ บวก non-cash บวก (หัก) non-operation บวก (หัก) การเปลี่ยนแปลงใน สท และหนี้สินดำเนินงาน กระแสเงินสดสุทธิจากการดำเนินงาน

หมายเหตุ กระแสเงินสดจ่ายค่าดอกเบี้ย ค่าภาษีเงินได้

กิจกรรมดำเนินงาน บวก non-cash บวก (หัก) non-operation กำไรก่อนหักดอกเบี้ยจ่าย ภาษี ก่อนรวมดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ บวก non-cash บวก (หัก) non-operation บวก (หัก) การเปลี่ยนแปลงใน สท และหนี้สินดำเนินงาน กระแสเงินสดจากการดำเนินงานก่อน 4 รายการ หัก (บวก)

Finance Lease ณ วันที่สัญญาเช่ามีผล ผู้เช่า Dr. สท ภายใต้สัญญาเช่า xx (PV ของค่าเช่า หรือ FV แล้วแต่จำนวนใดต่ำ) ดอกเบี้ยจ่ายรอตัด xx cr.เจ้าหนี้ภายใต้สัญญาเช่า xx เงินสด xx

ผู้ให้เช่า (สถาบันการเงิน) Dr. เงินสด ลูกหนี้ภายใต้สัญญาเช่า cr. เจ้าหนี้ค่า สท ดอกเบี้ยรับรอตัด

หากมี ตท ทางตรงเริ่มแรก 1) Dr. ดอกเบี้ยรับรอตัด xx cr. เงินสด xx 2) Dr. ตท ทางตรงรอตัด xx

ผู้ให้เช่า (มีของให้เช่าใน stock) Dr. เงินสด ลูกหนี้ภายใต้สัญญาเช่า cr. ค่าขาย (เท่ากับขายเป็นเงินสด) ดอกเบี้ยรับรอตัด

8 ข้อนี้ไม่ใช่คำตอบสุดท้าย ว่าหากเข้า 1/8 จะตกเป็น FL

หากถือครองที่ดิน และหรืออาคารไว้ให้ผู้อื่นเช่า โดยมีรายได้หลักในรูปค่าเช่า  อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน (TAS 40) สามารถเลือกแสดงในงบดุลได้ 2 วิธี ตามมูลค่ายุติธรรม  รับรู้กำไร ขาดทุนจากการตีราคาให้เป็น FV ใน p/l ตามราคาทุนเดิม แต่ต้องเปิดเผยมูลค่ายุติธรรมในหมายเหตุ

อะไหล่สำรอง (rotable spare parts) ที่ให้ ป ยแก่กิจการเกินกว่า 1 รอบบัญชีอยู่ในความหมายนี้ด้วย และให้เริ่มคิดค่าเสื่อมเมื่อพร้อมใช้

ตัดหลักการดู ป ส ภ ที่เพิ่มขึ้นของ สท หลังมีรายจ่ายต่อเติม ดัดแปลง ปรับปรุง เปลี่ยนแทน ขอแค่รายจ่ายเหล่านั้นทำให้สท ใช้ ป ย เกิน 1 รอบบัญชีค่อนข้างแน่ และวัดมูลค่ารายจ่ายน่าเชื่อถือ  ขึ้นบัญชีเป็น สท

ตย 1/1/52 ซื้อเครื่องจักร 100 บาท อายุ 5 ปี คิดค่าเสื่อมเส้นตรง 1/1/54 TAS 16 ใหม่ มีผลบังคับ วิศวกรได้ประเมินมูลค่าส่วนประกอบและอายุใช้งานพบว่ามี 2 ส่วน ส่วน 1 40- อายุ 4 ปี 2 60 10 ปี

เฉลย 1/1/54 Miss  Mrs Dr. อุปกรณ์ – ส่วน 1 40 2 60 cr. อุปกรณ์ 100

Component approach Dr. ค่าเสื่อมสะสม - อุปกรณ์ 40 cr. ค่าเสื่อมสะสม – 16 ส่วน 1 ค่าเสื่อมสะสม – ส่วน 2 24

BV ของส่วน 1 = 40-16 = 24/2 ปี BV ของส่วน 2 = 60 – 24 = 36/8 ปี

Write off = derecognize สท สูญหาย สท เสียหายใช้การไม่ได้ สท ขายออกไป

26 economic downturn The plamation of

สท ไม่มีตัวตนไม่รวมถึง สิทธิการเช่า = ค่าเช่าจ่ายล่วงหน้า ค่าความนิยม O/S ให้แสดงมูลค่ารวมไว้ในอุปกรณ์ (hardware)

นับแต่ 1 ม.ค. 51 สท ไม่มีตัวตน แบ่งเป็น 2 ชนิด มีอายุแน่นอน  ให้ตัดจำหน่ายไปตามอายุที่จะได้รับ ปย + ทบทวนการด้อยค่า มีอายุไม่แน่นอน  ไม่ต้องตัดจำหน่ายแต่ทบทวนด้อยค่า

ประมาณการหนี้สิน (provision) มาได้ 3 ทาง หนี้สินอันอาจเกิดขึ้น (contingent liab) พัฒนาไปสู่ความแน่นอนในระดับหนึ่งที่จะต้องเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจออกไปชำระ

ภาระผูกพันตาม กม เช่น เงินชดเชยตาม กม แรงงาน เงินบำเหน็จเมื่อออกจากงาน (อาศัยหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย) ภาระผูกพันจากการอนุมาน เช่น การออก warranty ให้ผู้ซื้อเครื่องไฟฟ้า การสัญญาว่าจะรับคืนสินค้า ถ้าไม่ตรงตามคุณภาพกำหนดไว้

หนี้สินอันอาจเกิดขึ้น อนาคตจะลาจาก ไม่ใช่หลักการเปิดเผย แต่ให้รับรู้ลงบนงบการเงิน

กำลังอยู่ระหว่างถูกฟ้องร้องคดี case prob AMOUNT WORST 30% 900- BASE 10% 200- BEST 60% 0 EXPECTED VALUE = 270 + 20 = 290