การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
เอชไอวีควบคุมได้ เอดส์รักษาได้ เราอยู่ด้วยกันได้
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
การจัดสรรงบประมาณ โครงการเด็กไทยเฉลียวฉลาด ประเทศชาติแข็งแรง
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
แนวทางการสนับสนุนงบประมาณ องค์กรเอกชนด้านเอดส์
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลท่าม่วง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.
การใช้ข้อมูลจากโปรแกรม NAP
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การพัฒนาระบบการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ผลการดำเนินงานที่ผ่าน มาของโรงพยาบาล ปัตตานี. แรงงานข้ามชาติ พนักงานบริการ ประชาชนทั่วไป ชายรักชาย กลุ่มเป้าหมาย.
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
เป้าหมาย สตรีอายุ ปี 240,279 ผลงาน 65,541 (27.28 %) ผิดปกติ/ ส่งต่อ
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
Case Scenario. นส. ชมพู่ อายุ 26 ปี ไม่มีอาการ มารับการตรวจคัดกรองโรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์ Case 1 วันที่ รับบริการ ประเภท ผู้ป่วย ใหม่ / เก่า เพศอายุสัญชาติ
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี

โครงสร้างการทำงานและบทบาทหน้าที่ จัดทำแผนงาน /สนับสนุนงบฯ พัฒนารูปแบบการดำเนินงาน ติดตามการดำเนินงาน สนับสนุนวิชาการ กรมควบคุมโรค สำนักโรคเอดส์ วัณโรค โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ : กลุ่มโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สร้างเครือข่ายการดำเนินงาน ติดตามการดำเนินงาน สนันสนุนด้านวิชาการ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคเขต สร้างกลไกขับเคลื่อน ติดตามการดำเนินงาน ประสานแผนงานกับงานอื่นๆ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด หน่วยบริการ จัดระบบบริการ ให้บริการที่มีคุณภาพ เชื่อมโยงงานที่เกี่ยวข้องในหน่วยบริการ โรงพยาบาล รพสต.

แผนงานหลักการดำเนินงานโครงการส่งเสริมป้องกันควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงาน การบริการตรวจคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ พัฒนาศักยภาพ

ระดับจังหวัด และหน่วยบริการสาธารณสุข กลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงาน การบริการตรวจคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ พัฒนาศักยภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด หน่วยบริการสาธารณสุข สสจ.+ หน่วยบริการสาธารณสุข จัดให้มีบริการในการคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และให้บริการการปรึกษาเพื่อการตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวี ในประชากรกลุ่มเสี่ยง สร้างระบบส่งต่อบริการเชิงรุกสู่การคัดกรอง STI/VCT และ ผู้ที่มีผล STI/VCT positive ได้รับการส่งต่อการดูแลรักษา ติดตามการดำเนินงานการคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในพื้นที่ ให้บริการคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และบริการปรึกษาเพื่อการตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวี (VCT) ในประชากรกลุ่มเสี่ยง ส่งฐานข้อมูลการคัดกรองฯเพื่อเบิกเงินชดเชยบริการคัดกรองโรคตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด สนับสนุนให้เจ้าหน้าที่ได้รับการอบรมในเรื่องต่างๆ ดังนี้ การลดการตีตราในกลุ่มเป้าหมาย การบันทึกข้อมูลการคัดกรอง STI/VCT และการใช้รหัส ICD-10 ในการปฎิบัติงาน(STI/VCT minirecord , HosXP) การอบรมและฝึกปฎิบัติเรื่องการคัดกรอง ตรวจวินิจฉัยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

ระดับจังหวัด และหน่วยบริการสาธารณสุข กลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงาน การบริการตรวจคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ พัฒนาศักยภาพ สำนักงานป้องกันควบคุมโรค หน่วยบริการสาธารณสุข ระดับ สคร. สำนักงานป้องกันควบคุมโรค สร้างระบบเครือข่ายการดำเนินงานด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของจังหวัดในพื้นที่ ติดตามการดำเนินงานการคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของจังหวัดในพื้นที่ ให้บริการคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และบริการปรึกษาเพื่อการตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวี (VCT) ในประชากรกลุ่มเสี่ยง ส่งฐานข้อมูลการคัดกรองฯเพื่อเบิกเงินชดเชยบริการคัดกรองโรคตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด พัฒนาศักยภาพ จนท.ในพื้นที่รับผิดชอบ จัดอบรมการลดการตีตราในกลุ่มเป้าหมาย จัดอบรมการบันทึกข้อมูลการคัดกรอง STI/VCT และการใช้รหัส ICD-10 ให้แก่พื้นที่ปฎิบัติงาน(STI/VCT minirecord , HosXP) จัดอบรมและฝึกปฎิบัติเรื่องการคัดกรอง ตรวจวินิจฉัยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

มาตรฐานการคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ตามกลุ่มเป้าหมาย

การคัดกรองโรคในกลุ่มพนักงานบริการหญิง VDRL/RPRเพื่อคัดกรองโรคซิฟิลิส ตรวจทุก 3 เดือน ในกรณีVDRL/RPR ผิดปกติ ให้ตรวจยืนยันด้วย TPHA HIV ตรวจทุก 6 เดือน ตรวจ Gram Stain ทุก 1 เดือน โดยตรวจช่องคลอด ปากมดลูก ท่อปัสสาวะ ( ในกรณีที่ตรวจได้ ให้ตรวจช่องอื่นๆที่ใช้ในการมีเพศสัมพันธ์ เช่นทวารหนัก เป็นต้น ) กรณีมีประจำเดือน ตรวจท่อปัสสาวะ Wet Smear ทุก 1 เดือน คัดกรองมะเร็งปากมดลูก 1 ครั้ง/ปี

การคัดกรองโรคในพนักงานบริการชาย VDRL/RPRเพื่อคัดกรองโรคซิฟิลิส ตรวจทุก 3 เดือน ในกรณีVDRL/RPRผิดปกติ ให้ตรวจยืนยันด้วย TPHA HIV ตรวจทุก 6 เดือน ตรวจ Gram Stain ท่อปัสสาวะ ทุก 1 เดือน ( ในกรณีที่ตรวจได้ ให้ตรวจช่องอื่นๆที่ใช้ในการมีเพศสัมพันธ์ เช่นทวารหนัก เป็นต้น ) คัดกรองมะเร็งปากทวารหนัก 1 ครั้ง/ปี ( กรณีใช้ทวารหนักรับการสอดใส่อวัยวะเพศ และในกรณีที่สามารถทำการตรวจได้ มีสถาบันที่อ่านผลได้)

การคัดกรองโรคในประชากรหญิงรวมวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ VDRL/RPR และ HIV testing เพื่อคัดกรองโรคซิฟิลิส และ การติดเชิ้อเอชไอวี และตรวจซ้ำอีก 3 เดือนหลังมีพฤติกรรมเสี่ยงครั้งสุดท้าย ( detect โรคซึ่งอาจจะยังอยู่ใน window period) Gram Stain สิ่งส่งตรวจจากช่องคลอด ปากมดลูก ท่อปัสสาวะ (ในกรณีที่ตรวจได้ ให้ตรวจช่องอื่นๆที่ใช้ในการมีเพศสัมพันธ์ เช่นทวารหนัก เป็นต้น) Wet Smear สิ่งส่งตรวจจากช่องคลอด ตรวจซ้ำ อีก 3 เดือนหลังมีพฤติกรรมเสี่ยงครั้งสุดท้าย ( เพื่อเป็น biomedical marker สำหรับ follow up การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม) คัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปีละ 1 ครั้ง

การคัดกรองโรคในประชากรชาย รวมถึงวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ VDRL/RPR และ HIV testing เพื่อคัดกรองโรคซิฟิลิส และ การติดเชิ้อเอชไอวี และตรวจซ้ำอีก 3 เดือนหลังมีพฤติกรรมเสี่ยงครั้งสุดท้าย ( detect โรคซึ่งอาจจะยังอยู่ใน window period) Gram Stain สิ่งส่งตรวจจากท่อปัสสาวะ ( ในกรณีที่ตรวจได้ ให้ตรวจช่องอื่นๆที่ใช้ในการมีเพศสัมพันธ์ เช่นทวารหนัก เป็นต้น ตรวจซ้ำ อีก 3 เดือนหลังมีพฤติกรรมเสี่ยงครั้งสุดท้าย ( detect โรคซึ่งอาจจะยังอยู่ใน window period และเพื่อเป็น biomedical marker สำหรับ follow up การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม) คัดกรองมะเร็งปากทวารหนัก (กรณีใช้ทวารหนักรับการสอดใส่อวัยวะเพศชาย)

หลักเกณฑ์การจ่ายเงินการชดเชยบริการคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

แนวทางการแก้ไข: การชดเชยบริการ กิจกรรม ชาย หญิง การชดเชยบริการ การตรวจสอบ แจกถุงยาง ให้สุขศึกษา/ให้คำปรึกษาด้าน STI 7 บาท/ครั้ง/เดือน มีรายชื่อเข้ารับการคัดกรองและลงทะเบียนในโปรแกรมที่กำหนด VDRL หรือ RPR 50 บ./ครั้ง มีผลการตรวจบันทึกลงในโปรแกรมที่กำหนด TPHA (กรณี VDRL/RPR ผล reactive) 100 บาท/ครั้ง ตรวจหาการติดเชื้อโรคหนองในและหนองในเทียม Gram stain (U) หรือ first voided urine analysis: (FVU), Gram stain จากช่อง ทวารหนัก 50 บาท/ช่องทาง/ครั้ง Gram Stain 3 ช่องทาง (U C V) 34 บาท/ช่องทาง/ครั้ง/เดือน ตรวจหาพยาธิช่องคลอด - Wet Smear 50 บ./ครั้ง/เดือน คัดกรองมะเร็งปากมดลูกและทวารหนัก(ช) PAP Smear 100 บาท/ครั้ง/ปี Gram 65

ระบบข้อมูลและการรายงาน

ส่งออกข้อมูลรายเดือนจากโปรแกรม STI/VCT mini record หรือ HosXP ตรวจสอบข้อมูล เพื่อชดเชยบริการคัดกรอง ส่งรายงานผลการชดเชยบริการรายสถานบริการรายไตรมาส กลุ่มบางรักโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ตรวจสอบรายไตรมาส/ติดตามการส่งข้อมูลรายเดือนของ จ.ในเขตรับผิดชอบ ส่งออกข้อมูลรายเดือนจากโปรแกรม STI/VCT mini record หรือ HosXP สคร. ตรวจสอบรายไตรมาส/ติดตามการส่งข้อมูลรายเดือนของ หน่วยบริการในพื้นที่รับผิดชอบ สสจ. ฐานข้อมูล STI สำหรับเบิกเงินชดเชยบริการ หน่วยบริการสาธารณสุข

ตัวอย่างการรายงานผลการชดเชยบริการรายสถานบริการรายไตรมาส

การติดตามรายงานการชดเชยบริการ: ตรวจสอบใน WWW.STIQUAL.COM เขต จังหวัด สถานบริการ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. √

ขั้นตอนการจัดสรรงบประมาณ แผนงานชดเชยบริการคัดกรองโรค STI

มีข้อโต้แย้ง ภายใน 30 วัน ? มี หน่วยบริการจัดส่งข้อมูลให้ส่วนกลาง ส่วนกลางตรวจสอบ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องแจ้งผลการตรวจสอบให้ส่วนกลาง ส่วนกลางสรุป ส่งสรุปรายงานให้ สคร. และ สสจ. ตรวจสอบ มีข้อโต้แย้ง ภายใน 30 วัน ? ส่วนกลางประสานพื้นที่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตรวจสอบ แจ้งข้อโต้แย้งให้ส่วนกลาง มี ไม่มี โอนงบประมาณให้ สคร และ สสจ. รายไตรมาส รับเงินโอนส่งใบเสร็จรับเงินให้ส่วนกลาง (ภายใน 7 วัน)

ตัวอย่างรูปแบบการจัดทำโครงการเพื่อใช้จ่ายเงินชดเชยบริการในพื้นที่

บัญชีเงินนอกงบประมาณของหน่วยงาน เงินนอกงบประมาณ โครงการ สปสช. ส่วนกลาง สสจ. ส่งใบสร็จรับเงินให้ส่วนกลางเมื่อได้รับเงินแล้วภายใน 7 วันหลังได้รับเงินโอน สสจ. บัญชีเงินนอกงบประมาณของหน่วยงาน 1 2 สสจ.รวบรวมเอกสาร/โครงการของพื้นที่และเบิกจ่ายเงินตามโครงการที่พื้นที่ขออนุม้ติ สสจ.จัดทำโครงการร่มใหญ่ของจังหวัดที่ครอบคลุมกิจกรรมของพื้นที่ หน่วยบริการสาธารณสุข พื้นที่จัดทำโครงการ และเบิกจ่ายเงินตามกิจกรรมจาก สสจ. พื้นที่เบิกจ่ายเงินตามกิจกรรมในโครงการจาก สสจ. เงินบำรุง หน่วยบริการ 3 หมายเหตุ : ห้ามนำเงินจากโครงการนี้เข้าบัญชีต่างๆ ของ สปสช. พื้นที่จัดทำโครงการ และเบิกจ่ายเงินตามกิจกรรมจาก เงินบำรุง หน่วยบริการ

บัญชีเงินนอกงบประมาณของหน่วยงาน เงินนอกงบประมาณ โครงการ สปสช. ส่วนกลาง สคร. ส่งใบสร็จรับเงินให้ส่วนกลางเมื่อได้รับเงินแล้วภายใน 7 วันหลังได้รับเงินโอน สคร. บัญชีเงินนอกงบประมาณของหน่วยงาน 1 2 สคร.รวบรวมเอกสาร/โครงการของพื้นที่และเบิกจ่ายเงินตามโครงการที่พื้นที่ขออนุม้ติ สคร.จัดทำโครงการร่มใหญ่ที่ครอบคลุมกิจกรรมของหน่วย หน่วยบริการสาธารณสุขที่อยู่ภายใต้ สคร. หน่วยจัดทำโครงการ และเบิกจ่ายเงินตามกิจกรรมจาก สคร หน่วยฯ เบิกจ่ายเงินตามกิจกรรมในโครงการจาก สคร หมายเหตุ : ห้ามนำเงินจากโครงการนี้เข้าบัญชีต่างๆ ของ สปสช.

การจัดสรรงบประมาณแผนงานกลไกการขับเคลื่อน สำหรับ สคร. และ สสจ.

รับเงินโอนส่งใบเสร็จรับเงินให้ส่วนกลางภายใน 7 วันหลังได้รับเงินโอน สคร. สคร. จัดทำโครงการเพื่อการขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการฯ ในวงเงิน 20,000 บาท/จังหวัด รับเงินโอนส่งใบเสร็จรับเงินให้ส่วนกลางภายใน 7 วันหลังได้รับเงินโอน นำเสนอ ผอ. เพื่อขอความเห็นชอบ ดำเนินงานตามโครงการ ส่งโครงการให้ กลุ่มบางรักฯ ภายใน 31 ต.ค. 56 ส่งสรุปผลการดำเนินงานให้ส่วนกลางภายในวันที่ 31 กรกฎาคม 2557 โอนงบประมาณตามโครงการ

รับเงินโอนส่งใบเสร็จรับเงินให้ส่วนกลาง ภายใน 7 วันหลังได้รับเงินโอน สสจ. สสจ. จัดทำโครงการเพื่อการขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการฯ ในวงเงิน 20,000 บาท รับเงินโอนส่งใบเสร็จรับเงินให้ส่วนกลาง ภายใน 7 วันหลังได้รับเงินโอน นำเสนอ สสจ. เพื่อขอความเห็นชอบ ดำเนินงานตามโครงการ ส่งโครงการให้ กลุ่มบางรักฯ ภายในวันที่ 31 ต.ค. 2556 ส่งสรุปผลการดำเนินงานให้ส่วนกลางภายในวันที่ 31 กรกฎาคม 2557 โอนงบประมาณตามโครงการ

ประเด็นอภิปราย รูปแบบการใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณของสสจ. ภายใต้โครงการฯ เงินกลไกการขับเคลื่อน เงินชดเชยบริการ ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ตัวอย่างการทำงานที่ประสบความสำเร็จ

ประเด็นการเบิกจ่ายเงินนอกงบประมาณเพื่อโครงการของหน่วยบริการสาธารณสุข จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการคัดกรอง STI ขออนุมัติ