มรรค : ธรรมที่ควรเจริญ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กรรม 2 สาย กรรมดำ กรรมขาว การฆ่า การฉ้อโกง การล่วงเกินสิทธิ์
Advertisements

เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
โดย อาจารย์วารุณี ถีระแก้ว โรงเรียนวัดไร่ขิง จังหวัดนครปฐม
ส่งการบ้านในระบบ E-laering
พุทธวิธีการปฏิบัติธรรม
3. เป้าหมายสูงสุด คือ นิพพาน
พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
คุณธรรม 10 ประการ.
ชีวิตคืออะไร ? ชีวิตตามสภาพของมันเอง ขันธ์ 5 เป็นส่วนประกอบของชีวิต
การดำเนินชีวิตอย่างมีอุดมคติ
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
2 ข้อนี้จัดเข้าในปัญญา
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
รักทางพุทธศาสนา.
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
บุญ.
บทที่๑ กำเนิดพระพุทธศาสนา
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
ลักษณะของพุทธศาสนานิกายเถรวาท
จริยศาสตร์ในพุทธปรัชญา
“คุณธรรม” และ “จริยธรรม”
ประวัติพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาเกิดที่ประเทศอินเดีย ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี เกิดหลังศาสนาพราหมณ์ ๖๐๐ ปี ก่อนศาสนาคริสต์ ๕๔๓ ปี ก่อนศาสนาอิสลาม ๑,๑๒๔.
คุณธรรมสำหรับผู้ปกครอง 10 ประการ ดังนี้
การบริหารสถานศึกษา สู่ความเป็นเลิศ.
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
วิปัสสนาญาณ 9.
กระบวนการอริยสัจ 4 เพื่อการแก้ไขปัญหา
คุณธรรม ***** สภาพคุณงามความดี
เจาคันธีสถูป อนุสรณ์แสดงว่า พระพุทธองค์ได้เสด็จจากพุทธคยา
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
มาตรฐานชีวิตชาวพุทธ วางรากฐานชีวิต ทำชีวิตให้ถึงจุดหมาย.
กุ ศ ล กรรมบถ อกุศล กรรมบถ
“การสร้างองค์กรต้นแบบ เศรษฐกิจพอเพียง โดยการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินการของหน่วยงานภาครัฐ” จัดโดย สำนักงาน ปปช. สรุปและนำเสนอโดย ภญ.ธีรารัตน์ สุวรรณาลัย.
รู้และเข้าใจเรื่องของชีวิต
ชีวิตที่พอเพียงสู่ความสุขที่ยั่งยืน
Ombudsman Talk.
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ?
วิชาธรรมศึกษา จัดทำโดย พระ บุญมี อนามโย วัดคลองมะนาว.
การใช้หลักศาสนา ฝ่าวิกฤติชีวิต
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
Download ใน หรือ
วันอาสาฬหบูชา.
สมุทัย ธรรมที่ควรละ.
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ จัดทำโดย นาย ภัทรพงศ์ สินเติม
การบริหารจิต.
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
เนื้อหาพิเศษ : การตั้งเป้าหมาย
แบบทดสอบศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ศาสนาพุทธ เรื่อง ฆราวาสธรรม ๔ จัดทำโดย
การรู้สัจธรรมของชีวิต
บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
เรื่อง ประวัติและความสำคัญ ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
อริยสัจ 4.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ทุกข์ - ธรรมที่ควรรู้ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ความเศร้าโศกเสียใจ หรือสภาพที่มนุษย์ทนอยู่ได้อยาก เป็นสภาวะทางธรรมชาติที่ควรกำหนดรู้ หัวข้อธรรมที่สนับสนุนในการศึกษา.
แนวความคิด/หลักคำสอนที่สำคัญ
พระครูพิศิษฏ์คณาทร วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
มงคล 38 ประการ พระพุทธเจ้าต้องการสอนให้ประชาชนรู้ ว่าปฏิบัติตนอย่างไรจึงจะเป็นมงคลแก่ตัวเอง แบ่งเป็น - สำหรับเยาวชน 10 ประการ - สำหรับคนวัยทำงาน 18.
อริยสัจ 4 ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ เป็นรากฐานของคำสอนทั้งมวล ที่ทำให้ผู้เข้าถึง กลายเป็น อริยบุคคล มีดังต่อไปนี้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มรรค : ธรรมที่ควรเจริญ ข้อปฏิบัติเพื่อการดับทุกข์หรือทำให้ทุกข์หมดสิ้นไปมี 8 ประการ เน้นให้ปฏิบัติโดยยึดทางสายกลาง

สารณียธรรม 6 เพื่อความสามัคคีของหมู่คณะ เมตตากายกรรม เมตตาวจีกรรม เมตตามโนกรรม สาธารณโภคี สีลสามัญญตา ทิฏฐิสามัญญตา

ความสำคัญของ สารณียธรรม 6 ลดปัญหาความขัดแย้งทะเลาะวิวาท และแก่งแย่งชิงดีชิงเด่นกัน

ทศพิธราชธรรม คุณธรรมของพระราชาผู้ครองแผ่นดิน ทศพิธราชธรรม คุณธรรมของพระราชาผู้ครองแผ่นดิน 6. ตบะ ความแผดเผากิเลส 7. อักโกรธะ ความไม่โกรธ 8. อวิหิงสา ความไม่เบียดเบียน 9. ขันติ ความอดทน 10. อวิโรธนะ ความไม่ประพฤติ ผิดจากทำนองคลองธรรม ทาน การให้ ศีล ความประพฤติดีงาม บริจาค การเสียสละความสุข อาชวะ ความซื่อตรง มัทวะ ความอ่อนโยน

วิปัสสนาญาณ 9 ญาณที่รู้และเห็นว่าทุกสิ่งมีเกิดย่อมมีดับ ความรู้ที่ทำให้เกิดการเห็นแจ้ง ญาณที่รู้และเห็นว่าทุกสิ่งมีเกิดย่อมมีดับ ญาณที่เห็นว่าสังขารทั้งปวงจะต้องแตกสลาย ญาณที่เห็นว่าสังขารเป็นของน่ากลัว ญาณที่เห็นสังขารทั้งปวงว่าเป็นโทษ และเต็มไปด้วยความทุกข์ ญาณที่เห็นสังขารว่าเป็นความน่าเบื่อหน่าย ไม่เพลิดเพลิน ไม่ติดใจ ญาณที่เกดความปรารถนาจะพ้นไปจากสังขารนั้น ญาณที่พิจารณาแสวงหาวิถีทางปลดเปลื้องสังขารนั้น ญาณที่วางใจเป็นกลางต่อสังขาร ไม่ยินดียินร้ายต่อสังขารนั้น ญาณที่หยั่งรู้และเข้าใจหลักอริยสัจ 4

มงคล 38 ธรรมที่นำความสุขความ เจริญมาสู่ผู้ปฏิบัติ ความเพียรเผากิเลส ประพฤติพรหมจรรย์ การเห็นอริยสัจ การบรรลุนิพพาน

ความเพียรเผากิเลส มงคลที่ 31 “ตโป จ” – การบำเพ็ญตบะ มงคลที่ 31 “ตโป จ” – การบำเพ็ญตบะ เป็นการทำให้กิเลส อกุศล หรือสิ่งชั่วร้ายทั้งปวงหมดสิ้นไปจากตัวเรา

คุณธรรมที่ได้ชื่อว่าเป็นตบะ ช่วยเผากิเลส 7 ข้อ คือ คุณธรรมที่ได้ชื่อว่าเป็นตบะ ช่วยเผากิเลส 7 ข้อ คือ ขันติ ทาน ศีล เมตตา 5. ปัญญา 6. ธุดงควัตร 7. อินทรียสังฆ์

การประพฤติพรหมจรรย์ 1. การให้ทาน (ทาน) 2. ช่วยเหลือทำกิจธุระ (เวยยาวัจจะ) 3. รักษาศีล 5 ให้บริสุทธิ์ (ศีล) 4. แผ่เมตตา (อัปปมัญญา) 5. ยินดีในคู่ครองของตน (สทารสันโดษ) 6. งดเว้นการเสพเมถุนหรือการร่วม ประเวณี (เมถุนวิรัติ) 7. มีความเพียรพยายาม (วิริยะ) 8. รักษาอุโบสถศีล 8 ประการ (อุโบสถ) 9. ปฏิบัติอริยมรรค (อริยมรรค) 10. มีศรัทธาในพระพุทธศาสนา (ศาสนา) 11. บำเพ็ญสมณธรรม (สมณธรรม)

การเห็นอริยสัจ มงคลที่ 38 1. ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ 2. ประกอบด้วย ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค 3. การปฏิบัติให้เห็นอริยสัจ ด้วยญาณ 3 คือสัจจญาณ กิจจญาณ กตญาณ 4. เห็นอริยสัจด้วย ญาณ 3 ถือเป็นมงคลชีวิต

การบรรลุนิพพาน มงคลที่ 34 การบรรลุนิพพาน หมายถึง การทำนิพพานให้แจ้ง เป็นสภาวะจิตที่มีความสุข ปราศจากโลภ โกรธ หลง ไม่ยึดมั่นถือมั่น เป็นมงคลสูงสุดของชีวิต 2. การปฏิบัติเพื่อบรรลุนิพพาน 2.1 การปฏิบัติตามหลักไตรสิกขา 2.2 การปฏิบัติ “วิปัสสนาญาณ” 9 ประการ