แนวทางนำเสนอ การ พัฒนาหลักสูตร บูรณการอาเซียน นำเสนอโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพป. เชียงใหม่ เขต ๑ ( ๓๑ มี. ค. ๕๗ )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
โดย ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
หน่วยที่ 4.
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
คำสำคัญ (Keywords) ที่แสดง คุณภาพ ระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา โดยหน่วยงานต้น สังกัด สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพม.35.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Thesis รุ่น 1.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา เลขาธิการ กพฐ.
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
การสอนแบบ Backward Design
การก่อตั้งประชาคมอาเซียน
มาตรฐานวิชาชีพครู.
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
“Backward” Unit Design?
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๑ ศาลาว่าการ กระทรวงมหาดไทย การประชุมคณะกรรมการเตรียม ความพร้อมของ กระทรวงมหาดไทยในการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
Dr. Panu Sittiwong Uttaradit Rajabhat University
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
My school.
อินเตอร์เน็ตกับครูภาษาอังกฤษ บทสัมภาษณ์ครูสอนภาษาอังกฤษ จัดทำโดย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน ออกแบบบ้านในฝันน่าอยู่
เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
นโยบายการขับเคลื่อน ระบบการวัดและประเมินสมรรถนะผู้เรียน
My school.
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
สรุป แนวคิด “ การสร้างความรู้ ” (Additional A ๑ ) การพัฒนาคุณภาพการศึกษา อยู่ที่ “ การสร้างความรู้ ”( ของแต่ ละคน ) ขึ้นมา นำเสนอโดย ศ. ดร. นิธิ เอียวศรีวงศ์
สรุป แนวคิด “ การเรียนรู้ ” (Learning) (Additional A1) Key word ที่สำคัญที่สุดของ เรื่อง “ คุณภาพ การศึกษา ” สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์
กลุ่ม ๒ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย.
การนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาวิชาชีพ เพื่อการมีงานทำ.
ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
งานที่ ๑ บันทึกสัมภาษณ์ครูภาษาอังกฤษ
โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
เรื่อง สมานฉันท์ จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
การปรับตัวและเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาเซียน
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
เรื่อง ท่องแดนมังกร ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 นายอานัฐ ปรีสมบัติ ครูโรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสัย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาฬสินธุ์ เขต 1.
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางนำเสนอ การ พัฒนาหลักสูตร บูรณการอาเซียน นำเสนอโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพป. เชียงใหม่ เขต ๑ ( ๓๑ มี. ค. ๕๗ )

จุดเน้นของ สพฐ. ข้อ ๘ “ นักเรียน ครู และบุคลากร ทางการศึกษา ( ทุกคน ) มี ความพร้อม เข้าสู่ ประชาคมอาเซียน มี ภูมิคุ้มกัน ต่อ การ เปลี่ยนแปลงในสังคมพหุ วัฒนธรรม (Multi-culture)

ให้มี ความพร้อม (readiness) อันดับแรก – สร้างความรู้ความเข้าใจ ( ที่ ถูกต้อง / ชัดเจน ) แก่ ร. ร.( ในขณะนี้ ) ได้ไม่มากก็ น้อย ( ต้องไปเพิ่มเติมเองอีก ครับ ) มีภูมิคุ้มกัน (immunity) ต่อ การเปลี่ยนแปลง ในสังคม พหุวัฒนธรรม ต้องเกิดจาก ( เป็นลำดับ )

ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องชัดเจน ( ก่อน ) ( แล้ว ) ไป ออกแบบหลักสูตร ( รองรับ ) √ O.K. ก่อนอื่น เราต้องมีความเข้าใจ อะไรบ้างล่ะ ?

คำสำคัญ พัฒนา หลัก สูตร พัฒนา หมายถึงอะไร ? และขอถามท่านว่า ปัจจุบัน อะไร คือ “ หลัก ” อะไรบ้างคือ “ สูตร ” ?

เฉลย พัฒนา คือ การเปลี่ยนแปลง ในทางที่ดีขึ้น ดีขึ้น -  คุณภาพ ( เพิ่มขึ้น ) แต่ต้องบอกให้ได้ว่า อะไรทำให้ ดีขึ้น ส่วนใหญ่จะไม่ค่อยรู้กัน !!!! ปัญหาของเรา ผู้เกี่ยวข้องทุก ฝ่าย มอง “ คุณภาพ ” ไม่ตรงกัน !!!

หลัก ( ที่สำคัญ ) เช่น –Standard-based –Backward Design (Unit) –Learner-oriented –Authentic Assessment – และ ไม่ทราบมีอะไรอีกบ้าง ครับ ?

สูตร ตัวสำคัญเลย คือ “School- based” และมีอะไรอีกไหมครับ ? “ ประชาคมอาเซียน ” ความเข้าใจคลาดเคลื่อน ประชาคมอาเซียน = ภาษา ( อังกฤษ ) !!!!

ประเด็นแรกที่ต้องรู้ อาเซียน ( ของเรา ) ก็มี วิสัยทัศน์ / อัตลักษณ์ (Shared vision/identity) แล้วมีไว้เพื่ออะไร ? ทำ อย่างไรต้องไปให้ถึง ? ๑๐ ประเทศ จะช่วยกัน อย่างไร ?

เราก็ต้องใช้ “ การศึกษา ” เป็นกลไกในการขับเคลื่อน นั่นเอง กลไกหลัก ก็คือ “ หลักสูตร ”(Curriculum/S yllabus)

( สูตร ) อาเซียน ในที่นี้ -  “ สังคมพหุวัฒนธรรม ”  สู่การบูรณาการ ระดับโครงสร้าง ( ก่อนเข้าสู่ ระดับชั้นเรียน ) หลักสูตรระดับห้องเรียน ( ราย วิชา, หน่วยการเรียนรู้ )

ขั้นตอนการเข้าสู่การเข้าใจ พหุวัฒนธรรม 1. การหา จุดยืน / อัตลักษณ์ ของแต่ละชาติ โดยการ สำรวจความเหมือน, ความ ต่าง, ความหลากหลาย, ความสัมพันธ์, ความสนใจ ของแต่ละชาติ

2. ร่วมสร้าง ความสำนึก, ให้เห็นคุณค่า, ความร่วมมือ, ความภาคภูมิใจ, ความเป็น เจ้าของร่วมกัน

กรอบการพัฒนา (Framework) เพื่อไปให้ถึง เป้าหมายใหญ่ข้างต้นอาจไม่ จำเป็นต้องทำพร้อมกัน ลำดับที่ ๑ เราควรเริ่มพัฒนาก่อน โดยจะใช้หลักนำ สาระหลัก (Themes) กับ เส้นทางการเรียนรู้ (Pathways) นำมาหาจุดตัด (Matrix)

๑.สาระหลัก ๕ themes คือ ๑. ๑ รอบรู้เกี่ยวกับอาเซียน ๑. ๒ การเห็นคุณค่า ความเป็น หนึ่ง / ความหลากหลาย ๑. ๓ การเชื่อมโยง โลกและ ท้องถิ่น

๑. ๔ ส่งเสริมความเสมอภาค / ความยุติธรรม ๑. ๕ การทำงานร่วมกันเพื่ออนาคต ที่ยั่งยืน ๒. ๔ เส้นทางการเรียนรู้ (Pathways) ๒. ๑ คน ( ประชาชน ) ๒. ๓ แนวคิด ๒. ๒ สถานที่ ๒. ๔ สื่อ (materials)

สรุปง่ายๆก็คือ matrix ที่ เกิด จะไปตอบโจทย์เรื่อง “ การเปลี่ยนแปลงต่างๆที่ เกิดขึ้น ในสังคมพหุ วัฒนธรรม ”( นั่นเอง )

Theme s Pathwa ys รอบรู้ อาเซียน เห็น คุณค่า ความ เป็นหนึ่ง เชื่อมโย งโลก และ ท้องถิ่น ส่งเสริม ความ เสมอ ภาค / ยุติธรรม ทำงาน ร่วมมือ กัน ยั่งยืน ประชาช น สถานที่ แนวคิด สื่อ

ร. ร./ ครูผู้สอน นำหลักของ จุดตัด (Matrix) ไปออกแบบ หลักสูตรต่อไป ตัวอย่างจุดที่นไปออกแบบ เริ่มได้ตั้งแต่ ในวิสัยทัศน์ ไป จนถึงในตัวหลักสูตร

ปรับ / แทรกในคำอธิบาย รายวิชา ปรับ / แทรกเป็นหน่วยการ เรียนรู้ สร้างรายวิชาเพิ่มเติม เป็นต้น โดยอาศัยตาราง วิเคราะห์ (Matrix) ใน ตัวอย่างต่อไป